กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่


“ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่เสริมสร้างภูมิคุ้มกันสุขภาพด้วยสมุนไพร ประจำปี 2560 ”

ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางนงนารถบุญทัสโร/อสม.หมู่ที่ 5

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่เสริมสร้างภูมิคุ้มกันสุขภาพด้วยสมุนไพร ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60 -L8405-2-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 31 พฤษภาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนรุ่นใหม่เสริมสร้างภูมิคุ้มกันสุขภาพด้วยสมุนไพร ประจำปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนรุ่นใหม่เสริมสร้างภูมิคุ้มกันสุขภาพด้วยสมุนไพร ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนรุ่นใหม่เสริมสร้างภูมิคุ้มกันสุขภาพด้วยสมุนไพร ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60 -L8405-2-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 31 พฤษภาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 87,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การใช้สมุนไพรเป็นภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยเพื่อการดูแลสุขภาพในชุมชนแบบพื้นบ้านดั้งเดิมที่อยู่คู่กับประเทศไทยมาตั้งแต่ก่อนสมัยกรุงสุโขทัย ซึ่งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่ละสังคมวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธ์ ซึ่งประโยชน์ของสมุนไพรมีมากมาย อาทิเช่น ใช้สกัดน้ำมันหอมระเหย ใช้เป็นยารับประทาน เพื่อรักษาอาการของโรคต่าง ๆ ใช้เป็นยาทาภายนอกเป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณบำบัดโรคที่เกิดตามผิวหนังรวมทั้งแผลที่เกิดในช่องปากในปัจจุบันทั่วโลกได้ยอมรับแล้วว่าผลที่ได้จากการสกัดสมุนไพร ให้คุณประโยชน์ดีกว่ายาที่ได้จากการสังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ประกอบกับในประเทศไทยเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ อันอุดมสมบูรณ์มีพืชต่าง ๆที่ใช้เป็นสมุนไพรได้อย่างมากมายนับหมื่นชนิดเมื่อเรามีอาการเจ็บป่วย เรามักจะไปซื้อหายาตามร้านขายยาทั่วไปมารับประทาน หรือไปหาหมอมาช่วยรักษา อันที่จริงอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยของเราหลายอย่าง สามารถรักษาได้เองถ้าเรารู้จักใช้สมุนไพร ซึ่งเป็นพืชที่มีสรรพคุณในการรักษาโรคบางชนิด โดยฌฉพาะอย่างยิ่งในสถานที่บางแห่งเราไม่สามารถหาซื้อยาได้ สมุนไพรยิ่งเป็นสิ่งสำคัญ องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งใหญ่ และคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นตำบลทุ่งใหญ่ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องการดูแลสุขภาพของชุมชนได้เล็งเห็นความสำคัญในการใช้สมุนไพรในการดูแลรักษาสุขภาพในเยาวชน จึงได้จัดทำโครงการเยาวชนรุ่นใหม่เสริมสร้างภูมิคุ้มกันสุขภาพด้วยสมุนไพรขึ้น เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาพื้นบ้านและการแพทย์สมุนไพรและการใช้สมุนไพรเมื่อเจ็บป่วย อีกทั้งยังสามารถดูแลสุขภาพเบื้องต้นของคนในครอบครัวได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาพื้นบ้านและการแพทย์สมุนไพร
  2. เพื่อให้เยาวชนสามารถนำความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณต่าง ๆของสมุนไพรไปใช้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นของตนเองและครอบครัวได้
  3. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ในขั้นตอนการผลิตสมุนไพรและนำไปใช้ประโยชน์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาพื้นบ้านและการแพทย์สมุนไพร
    2. เยาวชนนำความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณต่าง ๆ ของสมุนไพรไปใช้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นของตนเองและครอบครัวได้
    3. เยาวชนมีความรู้ในขั้นตอนการผลิตสมุนไพรและนำไปใช้ประโยชน์ได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ตามที่อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่  5  ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งใหญ่  เพื่อดำเนินโครงการเยาวชนรุ่นใหม่เสริมสร้างภูมิคุ้มกันสุขภาพด้วยสมุนไพร  โดยได้ดเนินโครงการระหว่างวันที่  20-21  พฤษภาคม  2560 ณ เรือนไทยทักษิณา  ตำบลเกาะขันธ์  อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช  มีผู็เข้าร่วมโครงการ  จำนวน  50  คน และขอรายงานผลความสำเร็จจากการดำเนินโครงการตามวัตถุประสงค์ดังนี้   1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาพื้นบ้านและการแพทย์สมุนไพร   2. เพื่อให้เยาวชนสามารถนำความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณต่าง ๆ ของสมุนไพรไปใช้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นของตนเองและครอบครัว   3. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ในขั้นตอนการผลิตสมุนไพรและนำไปใช้ประโยชน์

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาพื้นบ้านและการแพทย์สมุนไพร
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้เยาวชนสามารถนำความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณต่าง ๆของสมุนไพรไปใช้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นของตนเองและครอบครัวได้
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ในขั้นตอนการผลิตสมุนไพรและนำไปใช้ประโยชน์
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาพื้นบ้านและการแพทย์สมุนไพร (2) เพื่อให้เยาวชนสามารถนำความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณต่าง ๆของสมุนไพรไปใช้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นของตนเองและครอบครัวได้ (3) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ในขั้นตอนการผลิตสมุนไพรและนำไปใช้ประโยชน์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเยาวชนรุ่นใหม่เสริมสร้างภูมิคุ้มกันสุขภาพด้วยสมุนไพร ประจำปี 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60 -L8405-2-18

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนงนารถบุญทัสโร/อสม.หมู่ที่ 5 )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด