กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการหนูน้อยสุขภาพดีด้วยสื่อกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ”

อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด้กเล็กบ้านท่าศิลา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการหนูน้อยสุขภาพดีด้วยสื่อกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน

ที่อยู่ อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5294-3-01 เลขที่ข้อตกลง 10/63

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการหนูน้อยสุขภาพดีด้วยสื่อกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการหนูน้อยสุขภาพดีด้วยสื่อกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการหนูน้อยสุขภาพดีด้วยสื่อกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5294-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมสุขภาพในสถานศึกษามีความสำคัญมาก เพราะเด็กวัยเรียนใช้เวลาอยู่ในสถานศึกษาถึง “หนึ่งในสาม” ของเวลาในแต่ละวัน ภาวะสุขภาพของเด็กวัยเรียนจะเป็นพื้นฐานของภาวะสุขภาพตลอดชีวิต ทั้งยังเป็นวัยที่มีพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา และจิตวิญญาณ จึงจำเป็นต้องพัฒนาพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียนให้ยั่งยืนจนเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมให้ภาวะสุขภาพของเด็กวัยเรียนอยู่ในระดับสูงสุดตามศักยภาพ หนังสือเป็นเครื่องมือหนึ่งสำหรับการส่งเสริมพัฒนาเด็กตั้งแต่เล็ก แม้เด็กจะยังอ่านหนังสือไม่ออกเพราะยังเล็ก แต่ช่วงเวลาที่เด็กสนใจจดจ่ออยู่กับการเปิดหนังสือ เพื่อค้นหา และเรียนรู้สิ่งใหม่ๆที่แตกต่างจากสิ่งที่เห็นอยู่รอบตัวทุกเมื่อเชื่อวันนั้น ถือเป็นช่วงเวลาทองที่พ่อแม่ใช้เป็นช่วงเวลาในการต่อยอดความคิดที่ดีงาม รวมถึงการบ่มเพาะศีลธรรมพื้นฐานกับเด็กได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะหนังสือประเภทนิทาน เป็นสื่อที่ง่ายและเหมาะกับทุกโอกาส ทุกสถานการณ์ เด็กสามารถเรียนรู้เรื่องราวได้ทุกเรื่องจากนิทาน เหตุผลของการฟังนิทาน คือ ทำให้เด็กมีความสนุกสนาน เพลิดเพลินและนิทานยังช่วยให้เด็กได้พัฒนาทักษะการฟัง การพูด การกล้าแสดงออก และนิทานจะสร้างสรรค์นิสัยรักการอ่าน การเห็นความสำคัญของหนังสือไปพร้อมกันการเล่านิทานให้เด็กฟังเสมอ ๆ เป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดพัฒนาการที่ดีตามวัยของเด็ก ทั้งด้านร่างกายอารมณ์ สังคม สติปัญญาและภาษา โดยเฉพาะพัฒนาการด้านสังคม ในเรื่องของความมีคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งสามารถปลูกฝังผ่านการเล่านิทานจนเกิดความผูกพันและมีเจตคติที่ดีในด้านต่าง ๆ ติดตัวไปจนโตการเล่านิทานเป็นการสร้างสัมพันธ์ความใกล้ชิดผูกพันระหว่างผู้เล่ากับเด็กทำให้ผู้เล่าเข้าใจความรู้สึกนึกคิดของเด็กขณะที่เล่าเด็กจะคิดจินตนาการ เข้าใจซึมซับ รับรู้แยกแยะในสิ่งต่าง ๆ ด้วยตัวเอง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าศิลา มีภารกิจในการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาเด็กวัย 2-5 ขวบ จึงตระหนักถึงความสำคัญของการใช้หนังสือเป็นเครื่องมือเพื่อส่งเสริมสุขภาพและสร้างเสริมพัฒนาการเด็ก โดยเน้นการมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์จากผู้ปกครอง จึงได้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการหนูน้อยสุขภาพดี ด้วยสื่อกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ซึ่งนอกจากเป็นการบ่มเพาะนิสัยรักการอ่านให้เกิดขึ้นในตัวเด็ก แล้วยังเป็นการปรับปรุง ส่งเสริมและพัฒนาทัศนคติต่อการปฏิบัติตนในชีวิตประจำวันให้มีสุขภาวะ อันจะส่งให้เด็กมีพัฒนาการรอบด้านอย่างสมบูรณ์ สมวัย และเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ครูและผู้ปกครองมีทักษะความรู้และทัศนคติที่ถูกต้องในการดูแลเด็กปฐมวัย สามารถจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาการเด็กทั้งด้านสุขภาพร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาได้
  2. นักเรียนในระดับปฐมวัยมีพฤติกรรมที่ดีในการสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2. ประชุมชี้แจงโครงการกับผู้ปกครองและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
  2. 3. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะการเล่านิทานส่งเสริมสุขภาพสำหรับครูและผู้ปกครอง
  3. 4. กิจกรรมผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กผลิตจัดกิจกรรมผลิตนิทานส่งเสริมสุขภาพพร้อมใบงานกิจกรรมสำหรับนักเรียน
  4. 5. จัดกิจกรรมสุขภาพ “เล่านิทานศุกร์ละเรื่อง” ในระดับปฐมวัย
  5. 1. ประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและครูผู้ดูแลเด็กเพื่อชี้แจงโครงการ
  6. 6. รายงานผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครูและผู้กครอง มีทักษะความรู้และทัศนคติที่ถูกต้องในดูแลเด็กและเล่านิทานส่งเสริมสุขภาพเพิ่มขึ้น
  2. นักเรียนในระดับปฐมวัย มีพฤติกรรมที่ดีในการสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ครูและผู้ปกครองมีทักษะความรู้และทัศนคติที่ถูกต้องในการดูแลเด็กปฐมวัย สามารถจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาการเด็กทั้งด้านสุขภาพร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาได้
ตัวชี้วัด : ครูและผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีทักษะความรู้และทัศนคติที่ถูกต้องในดูแลเด็กและเล่านิทานส่งเสริมสุขภาพเพิ่มขึ้น
25.00 30.00

 

2 นักเรียนในระดับปฐมวัยมีพฤติกรรมที่ดีในการสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : นักเรียนในระดับปฐมวัยที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีพฤติกรรมที่ดีในการสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง
13.00 25.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ครูและผู้ปกครองมีทักษะความรู้และทัศนคติที่ถูกต้องในการดูแลเด็กปฐมวัย สามารถจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาการเด็กทั้งด้านสุขภาพร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาได้ (2) นักเรียนในระดับปฐมวัยมีพฤติกรรมที่ดีในการสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2. ประชุมชี้แจงโครงการกับผู้ปกครองและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (2) 3. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะการเล่านิทานส่งเสริมสุขภาพสำหรับครูและผู้ปกครอง (3) 4. กิจกรรมผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กผลิตจัดกิจกรรมผลิตนิทานส่งเสริมสุขภาพพร้อมใบงานกิจกรรมสำหรับนักเรียน (4) 5. จัดกิจกรรมสุขภาพ “เล่านิทานศุกร์ละเรื่อง” ในระดับปฐมวัย (5) 1. ประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและครูผู้ดูแลเด็กเพื่อชี้แจงโครงการ (6) 6. รายงานผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมพัฒนาการหนูน้อยสุขภาพดีด้วยสื่อกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5294-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์พัฒนาเด้กเล็กบ้านท่าศิลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด