โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยวิถีชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยวิถีชุมชน ”
ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสมบูรณ์ ผ่อนผาสุก , นางวนิดา อุ่นจิตต์ธรรม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยงมัส
กุมภาพันธ์ 2563
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยวิถีชุมชน
ที่อยู่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L8014-3-7 เลขที่ข้อตกลง 13/63
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยวิถีชุมชน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยงมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยวิถีชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยวิถีชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L8014-3-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 29 กุมภาพันธ์ 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยงมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การรวมกันอยู่หลาย ๆ ครอบครัว เราเรียกว่า ชุมชน การอยู่ร่วมกันมาก ๆ ย่อมมีทั้งปัญหาและความสุขที่เกิดจากการอยู่ร่วมกันในคนหมู่มากเป็นเรื่องปกติ แต่ชุมชนจะเข้มแข็งได้ต้องเข้มแข็งมาจากสถาบันครอบครัวเป็นหลัก การบริหารจัดการคนในครอบครัวนอกจากจะจัดให้สมาชิกในครอบครัวได้มีกิน และอยู่กันอย่างสุขสบายแล้ว สิ่งที่สำคัญที่สุดในสภาวะของการเปลี่ยนแปลงของโลกทางเทคโนโลยีซึ่งสามารถสื่อสารกันได้อย่างเป็นอิสระทั่วโลก ทำให้เด็กขาดซึ่งความตระหนักถึงวัฒนธรรมอันดีงามของประเทศที่ตนเองอยู่ร้อยละ 90 ทำให้เกิดการเปรียบเทียบ อยากได้ อยากเป็น อยากมี ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาที่ยิ่งใหญ่มากสำหรับครัวเรือนทุกครัวเรือน หากคนในครอบครัวขาดความอบอุ่น ขาดความเอื้ออาทรกันในครอบครัว จะนำพาให้เกิดปัญหาที่ยากที่จะแก้ไข เพื่อให้ผู้ปกครองได้ตระหนักถึงปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ในครอบครัวของตนเอง จึงต้องสร้างจิตสำนึกปรับเปลี่ยนแนวความคิดใหม่ให้กับครอบครัวเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาทางด้านสุขภาพจิต สุขภาพกาย เมื่อสุขภาพจิตเสียหมดกำลังใจในการต่อสู้ สิ่งที่ตามมาคือสุขภาพกายก็จะเสื่อมสภาพ เมื่อสุขภาพการเสื่อมย่อมเกิดโรคแทรกซ้อน เช่น โรคความดัน โรคเบาหวาน เพื่อลดปัญหาดังกล่าวให้ลดลง หรือไม่เกิดขึ้นในครอบครัว หรือที่เกิดขึ้นแล้วสามารถแก้ไขปัญหาได้โดยการร่วมมือร่วมใจของทุกภาคส่วนในชุมชน หรือที่เรียกว่าชุมชนบำบัด ศูนย์พัฒนาคุณภาพชิวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลตันหยงมัส จึงจัดให้มีการฝึกอบรมโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยวิธีชุมชน ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในสภาวะจิตของตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนแนวความคิดของตนเองโดยการใช้สติในการดำเนินชีวิตเพื่อลดปัญหาความคิดฟุ้งซ่าน และการตัดสินใจที่ผิดพลาด
- เพื่อลดโรคเครียด โรคซึมเศร้า และโรคความจำเสื่อม ที่เกิดจากการขาดสติ ขาดสมาธิ
- ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และสามารถบอกต่อคนรอบข้างได้ ซึ่งการถ่ายทอดความรู้ดังกล่าวให้ขยายวงกว้างออกไปได้นั้นเรียกว่า “การบำบัดโรคด้วยวิธีชุมชน”
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจสามารถกำหนดจิตให้มีสมาธิ เพื่อรู้เท่าทันจิตไม่คิดฟุ่งซ่าน และสามารถมีความสุขได้ด้วยตนเอง อีกทั้งสามารถลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคทางจิต และทางกายได้
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปบอกต่อและสามารถขยายผลให้แก่ผู้อื่นได้ โดยการพูดคุยด้วยแนวทางวิถีชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในสภาวะจิตของตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนแนวความคิดของตนเองโดยการใช้สติในการดำเนินชีวิตเพื่อลดปัญหาความคิดฟุ้งซ่าน และการตัดสินใจที่ผิดพลาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้และทักษะการยืน การเดิน การนั่ง การนอน สมาธิอย่างถูกวิธี (โดยการตอบแบบสอบถามหลังจากฝึกอบรม)
0.00
2
เพื่อลดโรคเครียด โรคซึมเศร้า และโรคความจำเสื่อม ที่เกิดจากการขาดสติ ขาดสมาธิ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 สามารถการกำหนดจิต ให้อยู่กับปัจจุบันคือจิตมีสมาธิทุกขณะ สามารถลดความเสี่ยงของโรคที่เกิดจากความคิดที่จิตไม่สงบ
0.00
3
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และสามารถบอกต่อคนรอบข้างได้ ซึ่งการถ่ายทอดความรู้ดังกล่าวให้ขยายวงกว้างออกไปได้นั้นเรียกว่า “การบำบัดโรคด้วยวิธีชุมชน”
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีสุขภาพจิต สุขภาพกายดี มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับไปยังคนรอบข้างได้ วัดจากการสังเกตและการสอบถามหลังการฝึกอบรมเสร็จ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในสภาวะจิตของตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนแนวความคิดของตนเองโดยการใช้สติในการดำเนินชีวิตเพื่อลดปัญหาความคิดฟุ้งซ่าน และการตัดสินใจที่ผิดพลาด (2) เพื่อลดโรคเครียด โรคซึมเศร้า และโรคความจำเสื่อม ที่เกิดจากการขาดสติ ขาดสมาธิ (3) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และสามารถบอกต่อคนรอบข้างได้ ซึ่งการถ่ายทอดความรู้ดังกล่าวให้ขยายวงกว้างออกไปได้นั้นเรียกว่า “การบำบัดโรคด้วยวิธีชุมชน”
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยวิถีชุมชน จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L8014-3-7
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสมบูรณ์ ผ่อนผาสุก , นางวนิดา อุ่นจิตต์ธรรม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยวิถีชุมชน ”
ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสมบูรณ์ ผ่อนผาสุก , นางวนิดา อุ่นจิตต์ธรรม
กุมภาพันธ์ 2563
ที่อยู่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L8014-3-7 เลขที่ข้อตกลง 13/63
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยวิถีชุมชน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยงมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยวิถีชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยวิถีชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L8014-3-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 29 กุมภาพันธ์ 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยงมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การรวมกันอยู่หลาย ๆ ครอบครัว เราเรียกว่า ชุมชน การอยู่ร่วมกันมาก ๆ ย่อมมีทั้งปัญหาและความสุขที่เกิดจากการอยู่ร่วมกันในคนหมู่มากเป็นเรื่องปกติ แต่ชุมชนจะเข้มแข็งได้ต้องเข้มแข็งมาจากสถาบันครอบครัวเป็นหลัก การบริหารจัดการคนในครอบครัวนอกจากจะจัดให้สมาชิกในครอบครัวได้มีกิน และอยู่กันอย่างสุขสบายแล้ว สิ่งที่สำคัญที่สุดในสภาวะของการเปลี่ยนแปลงของโลกทางเทคโนโลยีซึ่งสามารถสื่อสารกันได้อย่างเป็นอิสระทั่วโลก ทำให้เด็กขาดซึ่งความตระหนักถึงวัฒนธรรมอันดีงามของประเทศที่ตนเองอยู่ร้อยละ 90 ทำให้เกิดการเปรียบเทียบ อยากได้ อยากเป็น อยากมี ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาที่ยิ่งใหญ่มากสำหรับครัวเรือนทุกครัวเรือน หากคนในครอบครัวขาดความอบอุ่น ขาดความเอื้ออาทรกันในครอบครัว จะนำพาให้เกิดปัญหาที่ยากที่จะแก้ไข เพื่อให้ผู้ปกครองได้ตระหนักถึงปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ในครอบครัวของตนเอง จึงต้องสร้างจิตสำนึกปรับเปลี่ยนแนวความคิดใหม่ให้กับครอบครัวเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาทางด้านสุขภาพจิต สุขภาพกาย เมื่อสุขภาพจิตเสียหมดกำลังใจในการต่อสู้ สิ่งที่ตามมาคือสุขภาพกายก็จะเสื่อมสภาพ เมื่อสุขภาพการเสื่อมย่อมเกิดโรคแทรกซ้อน เช่น โรคความดัน โรคเบาหวาน เพื่อลดปัญหาดังกล่าวให้ลดลง หรือไม่เกิดขึ้นในครอบครัว หรือที่เกิดขึ้นแล้วสามารถแก้ไขปัญหาได้โดยการร่วมมือร่วมใจของทุกภาคส่วนในชุมชน หรือที่เรียกว่าชุมชนบำบัด ศูนย์พัฒนาคุณภาพชิวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลตันหยงมัส จึงจัดให้มีการฝึกอบรมโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยวิธีชุมชน ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในสภาวะจิตของตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนแนวความคิดของตนเองโดยการใช้สติในการดำเนินชีวิตเพื่อลดปัญหาความคิดฟุ้งซ่าน และการตัดสินใจที่ผิดพลาด
- เพื่อลดโรคเครียด โรคซึมเศร้า และโรคความจำเสื่อม ที่เกิดจากการขาดสติ ขาดสมาธิ
- ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และสามารถบอกต่อคนรอบข้างได้ ซึ่งการถ่ายทอดความรู้ดังกล่าวให้ขยายวงกว้างออกไปได้นั้นเรียกว่า “การบำบัดโรคด้วยวิธีชุมชน”
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจสามารถกำหนดจิตให้มีสมาธิ เพื่อรู้เท่าทันจิตไม่คิดฟุ่งซ่าน และสามารถมีความสุขได้ด้วยตนเอง อีกทั้งสามารถลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคทางจิต และทางกายได้
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปบอกต่อและสามารถขยายผลให้แก่ผู้อื่นได้ โดยการพูดคุยด้วยแนวทางวิถีชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในสภาวะจิตของตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนแนวความคิดของตนเองโดยการใช้สติในการดำเนินชีวิตเพื่อลดปัญหาความคิดฟุ้งซ่าน และการตัดสินใจที่ผิดพลาด ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้และทักษะการยืน การเดิน การนั่ง การนอน สมาธิอย่างถูกวิธี (โดยการตอบแบบสอบถามหลังจากฝึกอบรม) |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อลดโรคเครียด โรคซึมเศร้า และโรคความจำเสื่อม ที่เกิดจากการขาดสติ ขาดสมาธิ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 สามารถการกำหนดจิต ให้อยู่กับปัจจุบันคือจิตมีสมาธิทุกขณะ สามารถลดความเสี่ยงของโรคที่เกิดจากความคิดที่จิตไม่สงบ |
0.00 |
|
||
3 | ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และสามารถบอกต่อคนรอบข้างได้ ซึ่งการถ่ายทอดความรู้ดังกล่าวให้ขยายวงกว้างออกไปได้นั้นเรียกว่า “การบำบัดโรคด้วยวิธีชุมชน” ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีสุขภาพจิต สุขภาพกายดี มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับไปยังคนรอบข้างได้ วัดจากการสังเกตและการสอบถามหลังการฝึกอบรมเสร็จ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในสภาวะจิตของตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนแนวความคิดของตนเองโดยการใช้สติในการดำเนินชีวิตเพื่อลดปัญหาความคิดฟุ้งซ่าน และการตัดสินใจที่ผิดพลาด (2) เพื่อลดโรคเครียด โรคซึมเศร้า และโรคความจำเสื่อม ที่เกิดจากการขาดสติ ขาดสมาธิ (3) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และสามารถบอกต่อคนรอบข้างได้ ซึ่งการถ่ายทอดความรู้ดังกล่าวให้ขยายวงกว้างออกไปได้นั้นเรียกว่า “การบำบัดโรคด้วยวิธีชุมชน”
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยวิถีชุมชน จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L8014-3-7
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสมบูรณ์ ผ่อนผาสุก , นางวนิดา อุ่นจิตต์ธรรม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......