กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ รณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ม.5 บ้านหนองเลน
รหัสโครงการ 63-L3327-02-23
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุข ม.5 บ้านหนองเลน
วันที่อนุมัติ 2 ธันวาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 9,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสัญญา สุริยันต์
พี่เลี้ยงโครงการ นางกำไล สุดใหม่
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.26,100.074place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชน

อัตราป่วยลดลง

0.00
2 เพื่อกระตุ้นเตือนให้ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนักถึงภัยโรคไข้เลือดออก

ประชาชนเห็นถึงความสำคัญและอันตราของไข้เลือดออก

0.00
3 เพื่อสร้างความร่วมมือร่วมใจของชุมชนในการแก้ปัญหา และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

ประชาชนในหมู่บ้านตระหนักและช่วยกันกำจัดลูกน้ำ ที่เป็นแหล่งกำเนิดของไข้เลือดออก

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.จัดประชุม แกนนำชุมชน อสม. 3.จัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในชุมชน 4.จัดวันรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลาย ในหมู่บ้าน มัสยิด โรงเรียน และสถานที่ทำงาน 5.สำรวจลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านโดย อสม หมู่ที่ 5 บ้านหนองเลน 6.ติดตามออกพ่นสารเคมีกำจัดยุงลาย ในหมู่บ้านที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออกตามที่ได้รับแจ้งจาก รพสต.และโรงพยาบาล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถลดอัตราป่วยด้วยไข้เลือดของประชาชน 2.ประชาชนตลอดจนหน่วยงานเห็นความสำคัญและมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก 3.ผู้นำชุมชน/ประชาชน/นักเรียนมีความรู้ตลอดจนตระหนักถึงภัยไข้เลือดออก 4.สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยังยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในหมู่บ้านและโรงเรียน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ม.ค. 2563 14:45 น.