กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ อสม.ตำบลคลองใหญ่ทันภัยคุกคามทางสุขภาพ
รหัสโครงการ 63-L3327-02-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ คณะทำงานควบคุมป้องกันโรคและภัยคุกคามทางสุขภาพเทศบาลตำบลคลองใหญ่
วันที่อนุมัติ 2 ธันวาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 54,460.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางวรรณา เขียวแก้ว
พี่เลี้ยงโครงการ นายสัญญา สุริยันต์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.26,100.074place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อเฝ้าระวังและตรวจจับภัยคุกคามทางสุขภาพ อย่างมีทิศทางแลเป็นเอกภาพ

ลดปัญหาการคุกคามทางสุขภาพ

0.00
2 2.เพื่อพัฒนาต่อยอดการป้องกันและควบคุมภัยคุกคามทางสุขภาพของชุมชน แก่อสม.

มีการต่อยอดการป้องกันและควบคุมภัยคุกคามทางสุขภาพ

0.00
3 3.เพื่อพัฒนาความร่วมมือของเครือข่าย อสม.ระดับตำบลให้ความเข้มแข็งยั่งยืนในการดำเนินกิจกรรมด้านการป้องกันและควบคุมโรคและภัยคุกคามทางสุขภาพ

เครือข่าย อสม.ตำบลมีความเข้มแข็งยั่งยืน

0.00
4 4.เพื่อพัฒนาการขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชนในระดับตำบลให้มีรูปแบบที่ชัดเจนและเป็นเอกภาพ

มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.อบรมให้ความรู้ เรื่องก้าวทันภัยคุกคามทางสุขภาพ 2.จัดทำแผนปฏิบัติงานในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคและภัยคุคามทางสุขภาพระดับตำบล 3.ประชุมทบทวนและติดตามแผน 4.ประชุมสรุปผลการดำเนินงานระดับตำบล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อสม.ได้รับความรู้และพัฒนาองค์ความรู้เพื่อนำไปดำเนินการในชุมชนได้เท่าทันภัยคุกคามทางสุขภาพ 2.การดำเนินการทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมภัยคุกคามทางสุขภาพมีการวางแผน ประสานงานและกระบวนการจัดกิจกรรมมีแนวทางทิศทางที่เป็นเอกภาพ ซึ่งจะส่งผลต่อประสิทธิภาพในอนาคต 3.การขับเคลื่อนกิจกรรมสุขภาพภาคประชาชนในระดับตำบลเป็นรูปประธรรมยิ่งขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ม.ค. 2563 14:51 น.