กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการประจำปีงบประมาณ 2563
รหัสโครงการ 2562/l7886/4/1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
วันที่อนุมัติ 3 มกราคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ธันวาคม 2563
งบประมาณ 17,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอนุวัฒน์ คงเจริญ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.687,99.965place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2562 30 ก.ย. 2563 17,400.00
รวมงบประมาณ 17,400.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 24 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ หรือ กองทุน อปท. เป็นนวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและภาคีส่วนต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ทั่วถึงมากขึ้น รวมถึงสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ ส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน และองค์กรภาคีต่าง ๆ ในพื้นที่ให้เข้ามาบริหารจัดการสุขภาพร่วมกันอย่างแข็งขันเกิดระบบสุขภาพชุมชนขึ้นในพื้นที่ได้ ดังนั้น กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง ซึ่งได้เข้าร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที ได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน พัฒนาระบบหลักประกันหลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)       กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ หรือ กองทุน อปท. เป็นนวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและภาคีส่วนต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ทั่วถึงมากขึ้น รวมถึงสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ ส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน และองค์กรภาคีต่าง ๆ ในพื้นที่ให้เข้ามาบริหารจัดการสุขภาพร่วมกันอย่างแข็งขันเกิดระบบสุขภาพชุมชนขึ้นในพื้นที่ได้ ดังนั้น กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง ซึ่งได้เข้าร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที ได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน พัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง เพื่อเป็นค่าตอบแทนในการเข้าร่วมประชุมการบริหารจัดการกองทุน ฯลฯพัฒนากองทุนฯ ให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลต่อประชาชนในพื้นที่

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมการใช้เงินจากองทุนให้กับประชาชน เพื่อนำไปทำโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์

กลุ่ม องค์กร ประชาชน มีการจัดทำโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุน ร้อยละ 80

1.00
2 2. เพื่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สนับสนุนการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่

เพิ่มประสิทธิ และประสิทธิผลการดำเนินงานของกองทุนฯ ได้ร้อยละ 80

1.00
3 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และบุคลากรสำหรับดำเนินงานและช่วยงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ

เจ้าหน้าที่และบุคลากรของกองทุน สามารถดำเนินงานกองทุนฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ได้ร้อยละ 80

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อส่งเสริมการใช้เงินจากองทุนให้กับประชาชน เพื่อนำไปทำโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2. เพื่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สนับสนุนการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และบุคลากรสำหรับดำเนินงานและช่วยงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ,คณะอนุกรรมการกองทุน,คณะทำงานคณะ,อนุกรรมการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง LTC 24.00 17,400.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. ขั้นตอนวางแผนงาน         1.1 ร่วมกันประชุมวางแผนกำหนดร่างวาระในการประชุมจำนวนคณะกรรมการคณะอนุกรรมการ
            1.2 กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ       2. ขั้นตอนการดำเนินงาน         2.1 ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการเพื่อกำหนดนัดหมาย         2.2 จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินการ         2.3 จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนกรรมการ อนุกรรมการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน       3. จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม         3.1 ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด         3.2 จัดประชุมคณะกรรมการ,อนุกรรมการ,ที่ปรึกษาอย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี         3.3 สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. การบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพโปร่งใสและจัดทำสรุปผลการดำเนินงานหรืองบดุล เมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ เพื่อนำเสนอสำนักงานหลักประกันสุขภาพในเดือนธันวาคม  ของทุกปี
  2. มีการรับผิดชอบการเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในระบบหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามรูปแบบที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
    1. แผนงานโครงการหรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ทำให้การบริหารงานงานกองทุนฯ มีประสิทธิภาพได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 ม.ค. 2563 15:12 น.