กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. การบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพโปร่งใสและจัดทำสรุปผลการดำเนินงานหรืองบดุล เมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ เพื่อนำเสนอสำนักงานหลักประกันสุขภาพในเดือนธันวาคม  ของทุกปี
  2. มีการรับผิดชอบการเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในระบบหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามรูปแบบที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด       3. แผนงานโครงการหรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ทำให้การบริหารงานงานกองทุนฯ มีประสิทธิภาพได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมการใช้เงินจากองทุนให้กับประชาชน เพื่อนำไปทำโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ตัวชี้วัด : กลุ่ม องค์กร ประชาชน มีการจัดทำโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุน ร้อยละ 80
1.00

 

2 2. เพื่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สนับสนุนการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
ตัวชี้วัด : เพิ่มประสิทธิ และประสิทธิผลการดำเนินงานของกองทุนฯ ได้ร้อยละ 80
1.00

 

3 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และบุคลากรสำหรับดำเนินงานและช่วยงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : เจ้าหน้าที่และบุคลากรของกองทุน สามารถดำเนินงานกองทุนฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ได้ร้อยละ 80
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 24 24
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 24 24

บทคัดย่อ*

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ หรือ กองทุน อปท. เป็นนวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและภาคีส่วนต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ทั่วถึงมากขึ้น รวมถึงสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ ส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน และองค์กรภาคีต่าง ๆ ในพื้นที่ให้เข้ามาบริหารจัดการสุขภาพร่วมกันอย่างแข็งขันเกิดระบบสุขภาพชุมชนขึ้นในพื้นที่ได้ ดังนั้น กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง ซึ่งได้เข้าร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที ได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน พัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง เพื่อเป็นค่าตอบแทนในการเข้าร่วมประชุมการบริหารจัดการกองทุน ฯลฯพัฒนากองทุนฯ ให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลต่อประชาชนในพื้นที่

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh