กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้


“ โครงการส่งเสริมการให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครประจำครอบครัว ”

ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางดรุณี ขุนเพ็ชร

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครประจำครอบครัว

ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L8402-2-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 มีนาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครประจำครอบครัว จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครประจำครอบครัว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครประจำครอบครัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L8402-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 มีนาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,232.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้นำการสาธารณสุขมูลฐานมาเป็นกลวิธีหลัก และกำหนดเป็นนโยบายสำคัญในการ พัฒนางานสาธารณสุขของประเทศ บนหลักการสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพตนเอง และเพื่อนบ้าน ในรูปแบบอาสาสมัครสาธารณสุขหรือ อสม. เพื่อเป็นแกนนำด้านสุขภาพให้แก่ประชาชนในหมู่บ้าน ชุมชน ด้วยความมุ่งหวังให้ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกและศรัทธาในการพัฒนาอันเป็นการแสดงให้เห็นถึงรูปธรรมการสร้างสุขภาพนำการซ่อมสุขภาพอย่างยั่งยืนที่แท้จริง

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ซึ่งมีบทบาทในการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ให้สามารถดูแลและมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพของประชาชนในชุมชน ด้วยการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ ด้านสุขภาพ ให้บริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและเชื่อมประสานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในชุมชน เพื่อให้เกิดการ แก้ไขปัญหาด้านสุขภาพในชุมชน และอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) เป็นกลุ่มเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข ที่กำหนดให้จังหวัดดำเนินการเพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและสามารถดูแลตนเองได้ พร้อมทั้งมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชน เป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับครอบครัว โดยกำหนดว่า ทุกครอบครัว จำเป็นต้องมีอย่างน้อย 1 คน ที่มีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่และอาสาสมัครประจำครอบครัว เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครประจำครอบครัว  มีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครประจำครอบครัว มีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการจัดอบบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 280
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครประจำครอบครัว สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติเป็นแบบอย่างให้กับครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้
  2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครประจำครอบครัว สามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับประชาชนในพื้นที่เขตรับผิดชอบและปฏิบัติตามหลักการได้อย่างถูกต้อง
  3. ประชาชนในพื้นที่มีสุขภาพที่ดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการจัดอบบรมให้ความรู้

วันที่ 2 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมเพื่อวางแผนในการดำเนินการกิจกรรมตามโครงการ       2. เชิญกลุ่มเป้าหมาย อสม.ในพื้นที่ตำบลคูหาใต้เข้ารับการอบรมให้ความรู้       3. ดำเนินการวัดความรู้ก่อนการอบรม       4. ดำเนินกิจกรรมการให้ความรู้ ดังนี้
                4.1 เรื่อง 3 ปลอด คือ ปลอดโรคไข้เลือดออก ปลอดบุหรี่ ปลอดพลาสติกและโฟม             4.2 เรื่อง 3 ลด คือ ลดแม่ตาย ลดผู้ป่วยวัณโรค ลดผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง             4.3 เรื่อง 3 เพิ่ม คือ เพิ่มจำนวนเด็กพัฒนาการดี เพิ่มจำนวนผู้สูงวัยสุขภาพดี การใช้แพทย์แผนไทยและกัญชา ซึ่งมีเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่ตำบลคูหาใต้ร่วมเป็นวิทยาการในการให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และอาสาสมัครประจำครอบครัว       5. ดำเนินการวัดความรู้หลังการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครประจำครอบครัว สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติเป็นแบบอย่างให้กับครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้
  2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครประจำครอบครัว สามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับประชาชนในพื้นที่เขตรับผิดชอบและปฏิบัติตามหลักการได้อย่างถูกต้อง
  3. ประชาชนในพื้นที่มีสุขภาพที่ดี

 

280 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ตามที่ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขาม ได้ดำเนินการโครงการส่งเสริมการให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครประจำครอบครัว โดยมีกิจกรรมการอบรมให้ความรู้ เรื่อง 3 ปลอด คือ ปลอดโรคไข้เลือดออก ปลอดบุหรี่ ปลอดพลาสติกและโฟม, เรื่อง 3 ลด คือ ลดแม่ตาย ลดผู้ป่วยวัณโรค ลดผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง, เรื่อง 3 เพิ่ม คือ เพิ่มจำนวนเด็กพัฒนาการดี เพิ่มจำนวนผู้สูงวัยสุขภาพดี การใช้แพทย์แผนไทยและกัญชา ซึ่งผลการดำเนินกิจกรรมพบว่า มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 270 คน โดยมี นายนคร กาเหย็ม, นายณัฐพงศ์ ด้วนมี และนางสมพร ชิตณรงค์ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่คูหาใต้ เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ พร้อมทั้งประเมินความรู้โดยการสอบถาม พบว่า ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความรู้และความเข้าใจในหัวข้อที่ให้ความรู้อย่างชัดเจน และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติเป็นแบบอย่างให้กับครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครประจำครอบครัว มีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในหลักการ การส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 280 280
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 280 280
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครประจำครอบครัว  มีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการจัดอบบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและอาสาสมัครประจำครอบครัว จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L8402-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดรุณี ขุนเพ็ชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด