โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข รพ.สต บ้านกะลาเส
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข รพ.สต บ้านกะลาเส ”
ลานกีฬาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส
หัวหน้าโครงการ
เงินบำรุงกองทุนหมุนเวียนบัตรประกันสุขกาพ สอ.บ.กะลาเส โดย นายชาติชาย สุทธิธรรมานนท์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส
มกราคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข รพ.สต บ้านกะลาเส
ที่อยู่ ลานกีฬาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1521-1-13 เลขที่ข้อตกลง ......................./2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข รพ.สต บ้านกะลาเส จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ลานกีฬาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข รพ.สต บ้านกะลาเส
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข รพ.สต บ้านกะลาเส " ดำเนินการในพื้นที่ ลานกีฬาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส รหัสโครงการ 63-L1521-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มกราคม 2563 - 31 มกราคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อีก ๑๐ ปีข้างหน้าประเทศไทยจะเข้าสู่ "สังคมผู้สูงอายุ" โดยสมบูรณ์ (ข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุข) คือจะมีจำนวนผู้สูงอายุมากกว่า ๑๐ คนในคนไทย ๑๐๐ คน และจะมีผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย จะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ทั้งด้านบุคลากรและระบบต่างๆ เพื่อเสริมสร้างหลักประกันทางสังคมขั้นพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุ การปรับปรุงฐานข้อมูลเกี่ยวกับผู้สูงอายุให้ทันสมัยเพื่อที่จะได้ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด การสร้างหลักประกันและให้ความช่วยเหลือได้อย่างทั่วถึงและตรงกับความต้องการอย่างแท้จริง
ผู้สูงอายุเป็นวัยที่ส่วนใหญ่จะมีปัญหาสุขภาพทั้งในเรื่องของการเจ็บป่วย และปัญหาโรคประจำตัวเช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและโรคมะเร็ง ซึ่งโรคดังกล่าว นอกจากจะมีปัจจัยจากพันธุกรรมแล้ว ยังมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมมาเกี่ยวข้องในเรื่องของการออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร การดูแลสุขภาพจิตก็ยังเป็นสาเหตุสำคัญทำให้เกิดปัญหาสุขภาพซึ่งการส่งเสริมสุขภาพ หรือการดูแลสุขภาพ ในเรื่อง ของ ๕ อ.คืออาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ อนามัยสิ่งแวดล้อม อุบัติเหตุ สามารถที่จะช่วยให้สุขภาพแข็งแรงป้องกันโรคต่างๆได้รวมทั้ง ควบคุมความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของโรคประจำตัวได้ โดยการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับสุขภาพสัปดาห์ละ ๓ วันๆ ละ อย่างน้อย ๓๐ นาที การรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุเช่นลดอาหารหวานเค็มมัน เน้นรับประทานผักและผลไม้เพิ่มขึ้น รวมทั้งการดูแลสุขภาพจิตโดยเน้นกิจกรรมทางศาสนา เป็นตัวช่วยซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
จากการทำโครงการในปีงบประมาณ๒๕๖๒โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส มีผู้สูงอายุจำนวน ๑๕๘ คน มีโรคประจำตัวเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๖๐ คน โรคเบาหวาน จำนวน ๒๔ คนเป็นทั้งโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ๑๓ คน โรคมะเร็ง ๑ คน โรคหัวใจ ๑ คน และผู้ป่วยติดบ้าน ๖ คน โดยมีแกนนำ อสม ที่ดูแลผู้สูงอายุ จำนวน ๓๐ คน
และในงบประมาณ๒๕๖๓ พบว่า มีผู้สูงอายุจำนวน ๑๖๕ คน มีโรคประจำตัวเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๖๕ คน โรคเบาหวาน จำนวน ๒๗ คน เป็นทั้งโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ๑๕ คน โรคอัมพฤกษ์ ๓ คน โรคมะเร็ง ๑ คน โรคหัวใจ ๑ คน และผู้ป่วยติดบ้านจำนวน ๖ คน โดยมีแกนนำอสม ที่ดูแลผู้สูงอายุ จำนวน ๓๐ คนพบว่าผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส ได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีชีวีมีสุข รพ.สต บ้านกะลาเส ขึ้น โดยให้ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ทั้งในด้านการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ อาศัยอยู่ในสิงแวดล้อมที่เหมาะสม การป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ ตลอดถึงการปฏิบัติตัว สำหรับผู้ที่มีโรคประจำตัว โดยให้บรรลุแนวทางการปฏิบัติของกระทรวงสาธารณสุข คือไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุอสมและอสคเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายที่เหมาะสม ๒. เพื่อให้อสมผู้สูงอายุและอสคมีความรู้เรื่องสมาธิบำบัดและธรรมะกับผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดี ๓. เพื่อให้ผู้สูงอายุอสมและอสค ได้รับความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพด้านการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม (5 อ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
140
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมอย่างต่อเนื่อง
๒. ผู้สูงอายุมีความรู้และมีพฤติกรรมในการดูและสุขภาพแบบองค์รวม(การออกกำลังกาย อารมณ์ การบริโภคอาหาร อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุได้)
๓. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามความเหมาะสมมีความรู้ มีทักษะการดูแลสุขภาพร่างกาย และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุอสมและอสคเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายที่เหมาะสม ๒. เพื่อให้อสมผู้สูงอายุและอสคมีความรู้เรื่องสมาธิบำบัดและธรรมะกับผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดี ๓. เพื่อให้ผู้สูงอายุอสมและอสค ได้รับความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพด้านการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ๑. ผู้สูงอายุอสมและอสคได้รับความรู้เรื่อง เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสม ร้อยละ ๘๐
๒. ผู้สูงอายุอสมและอสคได้รับความรู้เรื่องสมาธิบำบัดและธรรมะเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดี ร้อยละ ๘๐ ของผู้สูงอายุและ อสค. เข้าอบรม เรื่อง การดูแลผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยระยะสุดท้าย
๓. ผู้สูงอายุอสมและอสคได้รับการถ่ายทอดความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม "ไม่ล้ม ไม่ลืมไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย จำนวน 1 ครั้ง
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
190
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
140
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุอสมและอสคเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายที่เหมาะสม ๒. เพื่อให้อสมผู้สูงอายุและอสคมีความรู้เรื่องสมาธิบำบัดและธรรมะกับผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดี ๓. เพื่อให้ผู้สูงอายุอสมและอสค ได้รับความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพด้านการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม (5 อ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข รพ.สต บ้านกะลาเส จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1521-1-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( เงินบำรุงกองทุนหมุนเวียนบัตรประกันสุขกาพ สอ.บ.กะลาเส โดย นายชาติชาย สุทธิธรรมานนท์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข รพ.สต บ้านกะลาเส ”
ลานกีฬาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส
หัวหน้าโครงการ
เงินบำรุงกองทุนหมุนเวียนบัตรประกันสุขกาพ สอ.บ.กะลาเส โดย นายชาติชาย สุทธิธรรมานนท์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส
มกราคม 2563
ที่อยู่ ลานกีฬาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1521-1-13 เลขที่ข้อตกลง ......................./2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข รพ.สต บ้านกะลาเส จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ลานกีฬาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข รพ.สต บ้านกะลาเส
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข รพ.สต บ้านกะลาเส " ดำเนินการในพื้นที่ ลานกีฬาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส รหัสโครงการ 63-L1521-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มกราคม 2563 - 31 มกราคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อีก ๑๐ ปีข้างหน้าประเทศไทยจะเข้าสู่ "สังคมผู้สูงอายุ" โดยสมบูรณ์ (ข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุข) คือจะมีจำนวนผู้สูงอายุมากกว่า ๑๐ คนในคนไทย ๑๐๐ คน และจะมีผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย จะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ทั้งด้านบุคลากรและระบบต่างๆ เพื่อเสริมสร้างหลักประกันทางสังคมขั้นพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุ การปรับปรุงฐานข้อมูลเกี่ยวกับผู้สูงอายุให้ทันสมัยเพื่อที่จะได้ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด การสร้างหลักประกันและให้ความช่วยเหลือได้อย่างทั่วถึงและตรงกับความต้องการอย่างแท้จริง
ผู้สูงอายุเป็นวัยที่ส่วนใหญ่จะมีปัญหาสุขภาพทั้งในเรื่องของการเจ็บป่วย และปัญหาโรคประจำตัวเช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและโรคมะเร็ง ซึ่งโรคดังกล่าว นอกจากจะมีปัจจัยจากพันธุกรรมแล้ว ยังมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมมาเกี่ยวข้องในเรื่องของการออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร การดูแลสุขภาพจิตก็ยังเป็นสาเหตุสำคัญทำให้เกิดปัญหาสุขภาพซึ่งการส่งเสริมสุขภาพ หรือการดูแลสุขภาพ ในเรื่อง ของ ๕ อ.คืออาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ อนามัยสิ่งแวดล้อม อุบัติเหตุ สามารถที่จะช่วยให้สุขภาพแข็งแรงป้องกันโรคต่างๆได้รวมทั้ง ควบคุมความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของโรคประจำตัวได้ โดยการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับสุขภาพสัปดาห์ละ ๓ วันๆ ละ อย่างน้อย ๓๐ นาที การรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุเช่นลดอาหารหวานเค็มมัน เน้นรับประทานผักและผลไม้เพิ่มขึ้น รวมทั้งการดูแลสุขภาพจิตโดยเน้นกิจกรรมทางศาสนา เป็นตัวช่วยซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
จากการทำโครงการในปีงบประมาณ๒๕๖๒โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส มีผู้สูงอายุจำนวน ๑๕๘ คน มีโรคประจำตัวเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๖๐ คน โรคเบาหวาน จำนวน ๒๔ คนเป็นทั้งโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ๑๓ คน โรคมะเร็ง ๑ คน โรคหัวใจ ๑ คน และผู้ป่วยติดบ้าน ๖ คน โดยมีแกนนำ อสม ที่ดูแลผู้สูงอายุ จำนวน ๓๐ คน
และในงบประมาณ๒๕๖๓ พบว่า มีผู้สูงอายุจำนวน ๑๖๕ คน มีโรคประจำตัวเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๖๕ คน โรคเบาหวาน จำนวน ๒๗ คน เป็นทั้งโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ๑๕ คน โรคอัมพฤกษ์ ๓ คน โรคมะเร็ง ๑ คน โรคหัวใจ ๑ คน และผู้ป่วยติดบ้านจำนวน ๖ คน โดยมีแกนนำอสม ที่ดูแลผู้สูงอายุ จำนวน ๓๐ คนพบว่าผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส ได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีชีวีมีสุข รพ.สต บ้านกะลาเส ขึ้น โดยให้ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ทั้งในด้านการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ อาศัยอยู่ในสิงแวดล้อมที่เหมาะสม การป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ ตลอดถึงการปฏิบัติตัว สำหรับผู้ที่มีโรคประจำตัว โดยให้บรรลุแนวทางการปฏิบัติของกระทรวงสาธารณสุข คือไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุอสมและอสคเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายที่เหมาะสม ๒. เพื่อให้อสมผู้สูงอายุและอสคมีความรู้เรื่องสมาธิบำบัดและธรรมะกับผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดี ๓. เพื่อให้ผู้สูงอายุอสมและอสค ได้รับความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพด้านการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม (5 อ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 140 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมอย่างต่อเนื่อง ๒. ผู้สูงอายุมีความรู้และมีพฤติกรรมในการดูและสุขภาพแบบองค์รวม(การออกกำลังกาย อารมณ์ การบริโภคอาหาร อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุได้) ๓. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามความเหมาะสมมีความรู้ มีทักษะการดูแลสุขภาพร่างกาย และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุอสมและอสคเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายที่เหมาะสม ๒. เพื่อให้อสมผู้สูงอายุและอสคมีความรู้เรื่องสมาธิบำบัดและธรรมะกับผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดี ๓. เพื่อให้ผู้สูงอายุอสมและอสค ได้รับความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพด้านการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วัด : ๑. ผู้สูงอายุอสมและอสคได้รับความรู้เรื่อง เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสม ร้อยละ ๘๐ ๒. ผู้สูงอายุอสมและอสคได้รับความรู้เรื่องสมาธิบำบัดและธรรมะเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดี ร้อยละ ๘๐ ของผู้สูงอายุและ อสค. เข้าอบรม เรื่อง การดูแลผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยระยะสุดท้าย ๓. ผู้สูงอายุอสมและอสคได้รับการถ่ายทอดความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม "ไม่ล้ม ไม่ลืมไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย จำนวน 1 ครั้ง |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 190 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 140 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุอสมและอสคเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายที่เหมาะสม ๒. เพื่อให้อสมผู้สูงอายุและอสคมีความรู้เรื่องสมาธิบำบัดและธรรมะกับผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดี ๓. เพื่อให้ผู้สูงอายุอสมและอสค ได้รับความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพด้านการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม (5 อ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข รพ.สต บ้านกะลาเส จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1521-1-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( เงินบำรุงกองทุนหมุนเวียนบัตรประกันสุขกาพ สอ.บ.กะลาเส โดย นายชาติชาย สุทธิธรรมานนท์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......