กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงสูง ปี 2563 ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลาเส



หัวหน้าโครงการ
เงินบำรุงกองทุนหมุนเวียนบัตรประกันสุขกาพ สอ.ต.กะลาเส โดย นางเพ็ญศรี บัวขำ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลาเส




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงสูง ปี 2563

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลาเส จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1521-1-19 เลขที่ข้อตกลง ....................../2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงสูง ปี 2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลาเส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงสูง ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงสูง ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลาเส รหัสโครงการ 63-L1521-1-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 31 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,362.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนและมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงานบริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขเป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำไปสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการและมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม ในกลุ่มประชากรทีมีภาวะเสี่ยงสูงถ้าไม่ได้รับการดูแลหรือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมอาจพัฒนาเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ในอนาคต อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาทำให้เป็นภาระต่อเศรษฐกิจ สังคม และครอบครัว ที่ต้องทำหน้าที่ดูแลส่วนปัจจัยด้านอื่นๆ ที่อาจมีความเกี่ยวเนื่องกันได้ก็คือ พันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งพบว่าคนที่มีบิดา มารดา มีภาวะความดันโลหิตสูงก็มักจะมีโอกาสเสี่ยงมากกว่าคนที่บิดา มารดามีภาวะความดันโลหิตปกติส่วนในเรื่องปัจจัยแวดล้อม เช่น มีน้ำหนักตัวมาก สูบบุหรี่จัด ดื่มสุราจัด มีระดับไขมันในเลือดสูงและมีความเครียดก็มีผลทำให้ภาวะความดันโลหิตสูงเช่นกันและโรคเบาหวานเป็นอีกหนึ่งโรคเรื้อรังอันตรายที่มักพบร่วมกันกับโรคความดันโลหิตสูง และมักจะค่อยสูงขึ้นและร่างกายก็ค่อยๆปรับตัวให้เข้ากับภาวะความดันโลหิตที่สูงขึ้น ส่วนใหญ่มักจะไม่แสดงอาการใดๆดังนั้นผู้ป่วยจึงไม่ค่อยทราบหากไม่ได้รับการตรวจวัดความดันโลหิตหรือตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด ดังนั้นโอกาสจะเกิดโรคแทรกซ้อนจากความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้ และส่งผลทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายต่อ หัวใจ ไต ตา และสมอง และเป็นสาเหตุการเสียชีวิต
จากการตรวจคัดกรองโรคในประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลาเส ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จำนวน ๒,๓๖๘ ราย สามารถคัดกรองโรคเบาหวานครอบคลุมคิดเป็นร้อยละ๙๙.๒๔ ของประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ตามลำดับ และคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงได้ครอบคลุมคิดเป็นร้อยละ ๙๘.๗๑ ของประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ตามลำดับ พบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูง ที่มีค่าระดับความดันโลหิต ≥๑๓๐/๘๕คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๐๓ และกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานที่มีค่าระดับน้ำตาลในเลือด (DTX) >๑๐๐mg/dl คิดเป็นร้อยละ ๗.๗๗ ดังนั้นด้วยความตระหนักถึงปัญหาและภัยของภาวะความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จากความสำคัญดังกล่าวข้างต้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลาเส จึงมุ่งหวังเพิ่มประสิทธิภาพความครอบคลุมการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ จึงได้เล็งเห็นผู้ที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีค่าผลเลือดและค่าระดับความดันโลหิตเกินเกณฑ์เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อได้มีการ จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงสูง ปี ๒๕๖๓

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๒.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงมีระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้,เยี่ยมบ้านเยี่ยมครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด (DTX) ลดลง ๒. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง ๓.ประชาชนหันมาใส่ใจสุขภาพตนเองมากขึ้นเกิดบุคคลต้นแบบ ในการขยายผลสู่เครือข่ายในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๒.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงมีระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตลดลง
ตัวชี้วัด : ๑. กลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเลือกรับประทานอาหารในชีวิตประจำวันได้ร้อยละ ๘๐ ๒. กลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อโรคความดันโลหิตสูงและมีผลตรวจวัดระดับ BP อยู่ในเกณฑ์ปกติ (≤๑๓๐/๘๕mmHg)ร้อยละ ๔๐ ๓. กลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อโรคเบาหวานและมีผลตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดอยู่เกณฑ์ปกติ (≤ ๑๐๐mg %) ร้อยละ ๔๐
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๒.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงมีระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้,เยี่ยมบ้านเยี่ยมครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงสูง ปี 2563 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1521-1-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เงินบำรุงกองทุนหมุนเวียนบัตรประกันสุขกาพ สอ.ต.กะลาเส โดย นางเพ็ญศรี บัวขำ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลาเส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด