กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะชุมชนทุ่งปาบ ”
ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
คณะทำงานเครือข่ายสาธารณสุขเทศบาลเมืองคลองแห ชุมชนทุ่งปาบ โดย นางอำมร ศรแก้ว ประธาน




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะชุมชนทุ่งปาบ

ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63- L7255 – 02 -23 เลขที่ข้อตกลง 30/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะชุมชนทุ่งปาบ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะชุมชนทุ่งปาบ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะชุมชนทุ่งปาบ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63- L7255 – 02 -23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,840.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้าง บางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรคคือยุงลาย ลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวน ขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ
จากข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองคลองแห มีแนวโน้มสูงขึ้น ประชาชนส่วนใหญ่มุ่งแก้ปัญหาไปที่การกำจัดยุงตัวเต็มวัย การพ่นหมอกควัน เป็นต้น โดยไม่ได้กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และไข่ลูกน้ำยุงลาย จึงทำให้มียุงรุ่นใหม่เกิดได้ตลอดช่วงเวลา จึงไม่สามารถขจัดโรคไข้เลือดออกให้หมดไปจากชุมชนได้
เครือข่ายสาธารณสุขเทศบาลเมืองคลองแหชุมชนทุ่งปาบ จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ ในชุมชนทุ่งปาบขึ้นเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชน ไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไปในวงกว้าง ป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าให้ทันต่อสถานการณ์ที่เกิดโรคและดำเนินการอย่างต่อเนื่องเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นการกระตุ้น ให้ประชาชนได้ตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก และช่วยกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ลดอัตราการป่วยและลดค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย สามารถป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ด้วยตนเอง โดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ซึ่งเป็นพาหนะนำโรคและร่วมกับชุมชน บริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ซึ่งเป็นพาหนะนำโรคและร่วมกับชุมชนบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญ ของการป้องกันโรคไข้เลือดออก ให้ความร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
  3. ลดอัตราป่วยด้วย โรคไข้เลือดออกในชุมชนทุ่งปาบและป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมอบรม/ วางแผนการทำงาน
  2. กิจกรรมรณรงค์และเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก
  3. กิจกรรมกรณีเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  4. กิจกรรมครัวเรือนต้นแบบปราศจากลูกน้ำยุงลาย
  5. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ
  6. รณรงค์และเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก
  7. กิจกรรมกรณีเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  8. กิจกรรมครัวเรือนต้นแบบปราศจากลูกน้ำยุงลาย
  9. ประชุมสรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงานชุมชนทุ่งปาบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดจำนวนผู้ป่วยป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 50
  2. ดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายลดลง และลดอัตราป่วยผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ

วันที่ 15 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ความรู้ ความเข้าใจ เรื่องไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  2. แผนการดำเนินการรณรงค์ในชุมชน
  3. แผนการรับมือกรณีเกิดการระบาดของโรคที่เกิดจากยุงลาย

 

30 0

2. ประชุมสรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงานชุมชนทุ่งปาบ

วันที่ 15 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมประชุมสรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงานชุมชนทุ่งปาบ 1. เก็บข้อมูลการรณรงค์ในพื้นที่ 2. เก็บข้อมูลการระบาดของโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ 3. วิเคราะห์ตามหลักสถิติ และความน่าจะเป็นในอนาคต 4. วางแแผนการดำเนินการเฝ้าระวังต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แผนที่การเดินรณรงค์
  2. ข้อมูลการระบาดในพื้นที่
  3. แนวทางการดำเนินการป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  4. การเฝ้าระวังโรคที่อาจจะเกิดขึ้นหรืออุบัติใหม่

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน)
300.00 150.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญ ของการป้องกันโรคไข้เลือดออก ให้ความร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ เกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก ให้ความร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 80
200.00 240.00

 

3 ลดอัตราป่วยด้วย โรคไข้เลือดออกในชุมชนทุ่งปาบและป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญ ของการป้องกันโรคไข้เลือดออก ให้ความร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) ลดอัตราป่วยด้วย โรคไข้เลือดออกในชุมชนทุ่งปาบและป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมอบรม/ วางแผนการทำงาน (2) กิจกรรมรณรงค์และเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรมกรณีเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (4) กิจกรรมครัวเรือนต้นแบบปราศจากลูกน้ำยุงลาย (5) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ (6) รณรงค์และเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก (7) กิจกรรมกรณีเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (8) กิจกรรมครัวเรือนต้นแบบปราศจากลูกน้ำยุงลาย (9) ประชุมสรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงานชุมชนทุ่งปาบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะชุมชนทุ่งปาบ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63- L7255 – 02 -23

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( คณะทำงานเครือข่ายสาธารณสุขเทศบาลเมืองคลองแห ชุมชนทุ่งปาบ โดย นางอำมร ศรแก้ว ประธาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด