กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก
รหัสโครงการ 60-L7577-2-18
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
วันที่อนุมัติ 27 เมษายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 25,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนงนิตย์สายกิ้มซ้วน
พี่เลี้ยงโครงการ นายพิลือเขียวแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.278,100.007place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่สำคัญของประเทศ ซึ่งในปี พ.ศ.2559 มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกทั่วประเทศ จังหวัดพัทลุงเป็นจังหวัดที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกสูง เป็นอันดับสองของภาคใต้และเป็นอันดับสามของประเทศ จำนวนผู้ป่วยตั้งแต่ 1 มกราคม 2559-26 ตุลาคม 2559 จำนวน942ราย อัตราป่วย 180.61 ต่อแสนประชากร อำเภอตะโหมด เป็นอำเภอที่มีการระบาดสูงเป็นอันดับหนึ่งของจังหวัดพัทลุง มีผู้ป่วยจำนวน 149 ราย อัตราป่วย 529.92 ต่อแสนประชากร และในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะโหมด พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 17 ราย อัตราป่วย 507.16 ต่อแสนประชากร ซึ่งสูงกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้ที่ไม่เกิน 50ต่อแสนประชากร ถึง10เท่า ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านตะโหมด เห็นความสำคัญที่ต้องรีบดำเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยเร่งด่วนเพื่อไม่ให้ในปีงบประมาณ2559 จึงได้จัดทำโครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ขึ้นเพื่ออัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่และป้องกันไม่ให้มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.ประชุมเจ้าหน้าที่ อสม.และแกนนำ เพื่อปรึกษาหารือเรื่องการจัดทำโครงการ 2.ขออนุมัติโครงการต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลตะโหมด 3.จัดประกวดหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย โดยจัดกิจกรรมต่างๆดังนี้ 3.1ประชุม ผู้นำหมู่บ้าน อสม.เพื่อแต่งตั้งคณะทำงาน จัดทำเกณฑ์การประกวดและแต่งตั้งกรรมการประกวดหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย 3.2แกนนำหมู่บ้านและ อสม.ร่วมกันประชุมหมู่บ้านเพื่อชี้แจงรายละเอียดการประกวด 3.3ดำเนินการประกวดโดยให้ อสม.แต่ละหมู่บ้านผลัดกันสำรวจลูกน้ำยุงลายในหมู่ที่ไม่ใช่เขตรับผิดชอบของตนเอง จำนวน 3 ครั้ง โดยสำรวจทุก 2 เดือน นำผลที่ได้มาคำนวณค่า HI และ CI หมู่ที่มีค่า HI CI หมู่ที่มีค่า HI และ CI ต่ำสุดและมีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกต่ำสุดเป็นผู้ชนะ 4.ให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนโรงเรียนในเขตรับผิดชอบและจัดตั้ง อสม.น้อยในโรงเรียน 5.ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ในวัดตะโหมด ร่วมกับผู้นำชุมชนและอสม.เดือนละครั้ง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลง
  2. ไม่มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก
  3. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันตนเองจากโรคมากยิ่งขึ้น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 พ.ค. 2560 13:30 น.