กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา


“ โครงการรู้ทันวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2563 ”

ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุไอนี แวกุโน

ชื่อโครงการ โครงการรู้ทันวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3068-10(1)-04 เลขที่ข้อตกลง 63-L3068-10(1)-04

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้ทันวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2563 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้ทันวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้ทันวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3068-10(1)-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เล็งเห็นถึงความสำคัญว่าวัคซีนเป็นเครื่องมือป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพสูงจึงได้นำวัคซีนที่มีคุณภาพและเหมาะสมสำหรับประเทศ มาบรรจุในโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพื่อให้บริการแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมายาวนานมากว่า 30 ปีแล้ว โดยมีนโยบายด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่สำคัญคือ การให้บริการวัคซีนป้องกันโรคที่มีความจำเป็นครอบคลุมจำนวนโรคให้มากที่สุด ให้ครอบคลุม ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสูงที่สุด ประชากรกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน จัดให้มีการให้บริการวัคซีนในทุกระดับของสถานบริการ วัคซีนที่ใช้ต้องมีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคสูงและต้องมีความปลอดภัย และให้บริการโดยไม่คิดมูลค่าแม้ว่าวัคซีนจะไม่ใช่ยารักษาโรค แต่วัคซีนก็เป็นเครื่องป้องกันที่ช่วยให้เด็กๆปลอดภัยจากโรคร้ายที่มากล้ำกรายโดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กวัยขวบปีแรกที่มีอัตราเสี่ยงสูงในการต่อต้านเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกายการรับวัคซีนเพื่อสร้างภูมิต้านทานเป็นวิธีที่ง่ายดายปลอดภัยและมีประสิทธิภาพในการป้องกันเด็กจากโรคบางอย่างความเสี่ยงจากโรคเหล่านั้นมากมายหลายเท่าเพื่อให้ได้รับภูมิต้านทานที่ครบถ้วนเด็กจะต้องได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุทั้งหมดและควรได้รับตรงเวลาอีกด้วย     เนื่องจากปีที่ผ่านมาได้เกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนขึ้นในพื้นที่ เช่น โรคหัด และพบว่าที่ป่วยเป็นโรคส่วนใหญ่ ไม่ได้รับการฉีดวัคซีนตามเกณฑ์ และในพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา พบว่ามีอัตราการได้รับวัคซีนต่ำกว่าเกณฑ์ในเด็กอายุ 3 – 5 ปี ซึ่งสาเหตุเกิดจากผู้ปกครองไม่ตระหนักถึงความสำคัญของวัคซีน หรือกลัวลูกเจ็บไข้ได้ป่วยหลังการรับวัคซีน จึงไม่นำเด็กมารับบริการฉีดวัคซีน ซึ่งโรคเหล่านี้สามารถป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีน และปัจจุบัน กรมควบคุมโรคได้เปลี่ยนเกณฑ์การได้รับวัคซีนของเด็กอายุ 0 – 5 ปี ทำให้ผู้ปกครองบางท่านเกิดความสับสนและอาจจะไม่นำบุตรมาฉีดวัคซีนตามนัด และจากความครอบคลุมวัคซีนปี 2562 ของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน DTPHB คิดเป็นร้อยละ 87.10 MMR1 คิดเป็นร้อยละ 96.77 จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 62 คน ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 2 ปี ที่ได้รับวัคซีน DTP4 OPV4 คิดเป็นร้อยละ 90.32 JE1 คิดเป็นร้อยละ 87.10 จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 62 คน ความครอบคลุมของเด็กครบ 3 ปี ที่ได้รับวัคซีน JE2 คิดเป็นร้อยละ 91.11 MMR2 คิดเป็นร้อยละ 97.78 จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90 คน ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 5 ปี ที่ได้รับวัคซีน DTP5 OPV5 คิดเป็น  ร้อยละ 95.92 จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 49 คน
    ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผนฯจากรายงานอัตราความครอบคลุมวัคซีนขั้นพื้นฐานพบว่า เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ได้รับวัคซีนบางช่วงอายุไม่ครอบคลุม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา จึงเล็งเห็นความสำคัญของโรคที่จะเกิดขึ้นของเด็ก 0 – 5 ปี จึงจัดทำโครงการรู้ทันวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2563 นี้ขึ้นเพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของการฉีดวัคซีน ดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมาย ให้มารับการฉีดวัคซีนทุกคน เพื่อป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มอายุดังกล่าว และให้เด็กมีภาวะสุขภาพที่ดียิ่งขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
  2. เพื่อให้เด็กที่ไม่มารับรับวัคซีนตามนัดได้รับการติดตามและมารับวัคซีนอย่างต่อเนื่อง
  3. เพื่อสร้างความตระหนักให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
  4. เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แลกไข่ กรณีเด็กได้รับวัคซีนตามนัดที่มาตามกำหนดนัดมากว่า 5 ขึ้นไป
  2. เสริมสร้างแรงจูงใจให้กับผู้ปกครองและเด็ก 0-5 ปี โดยให้เกียรติบัตร ดังนี้ -เด็กอายุครบ 1 ปี ที่ไก้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และสุขภาพแข็งแรง - เด็กอายุครบ 5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ (BCG –DTP5/OPV5)
  3. ประชุมชี้แจงให้ความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนแนวใหม่ให้แก่ผู้ปกครองเด็ก
  4. . ติดตามเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์หรือรับวัคซีนล่าช้า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กอายุ 0-5 ปี ในเขตพื้นที่รับผิดชอบได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
  2. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
  3. อัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงให้ความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนแนวใหม่ให้แก่ผู้ปกครองเด็ก

วันที่ 24 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการเพื่อเสนออนุมัติโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบางตาวา
  2. สำรวจกลุ่มเป้าหมายเด็ก 0-5 ปี
  3. ประชุมชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ในรพ.สต.ลิปะสะโง เพื่อให้เข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการ
  4. ประชุมชี้แจง อสม. เพื่อชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงาน
  5. อสม.ติดตาม และ นำส่งเด็กมารับวัคซีนของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ รพ.สต.
  6. ติดตามฉีดวัคซีนเชิงรุก ในรายที่ อสม. ติดตามแล้วแต่ไม่ยอมมารับบริการที่ รพ.สต.
  7. ประชุมชี้แจงให้ความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนแนวใหม่ให้แก่ผู้ปกครองเด็ก
    ดังรายละเอียดดังนี้  เด็กอายุครบ 1ปี ควรได้รับวัคซีน (BCG – MMR)           - เด็กอายุครบ 2ปีครึ่ง ควรได้รับวัคซีน (BCG – MMR2  JE1-JE2)           - เด็กอายุครบ 3ปี ควรได้รับวัคซีน (BCG – JE3)           - เด็กอายุครบ 4ปี ควรได้รับวัคซีน (BCG – DTP5/OPV5)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กอายุ 0-5 ปี ในเขตพื้นที่รับผิดชอบได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
  2. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
  3. อัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนลดลง

 

73 0

2. . ติดตามเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์หรือรับวัคซีนล่าช้า

วันที่ 3 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ลงติดตามการดำเนินงานและให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับวัตซีน
  2. ตรวจสมุดสีชมพูและเขียนวันนัดวัคซีนครั้งต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กอายุ 0-5 ปี ในเขตพื้นที่รับผิดชอบได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
  2. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
  3. อัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนลดลง

 

35 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
0.00

 

2 เพื่อให้เด็กที่ไม่มารับรับวัคซีนตามนัดได้รับการติดตามและมารับวัคซีนอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กที่ไม่มารับรับวัคซีนตามนัดได้รับการติดตามและมารับวัคซีนอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

3 เพื่อสร้างความตระหนักให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
0.00

 

4 เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ (2) เพื่อให้เด็กที่ไม่มารับรับวัคซีนตามนัดได้รับการติดตามและมารับวัคซีนอย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อสร้างความตระหนักให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (4) เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แลกไข่ กรณีเด็กได้รับวัคซีนตามนัดที่มาตามกำหนดนัดมากว่า 5 ขึ้นไป (2) เสริมสร้างแรงจูงใจให้กับผู้ปกครองและเด็ก 0-5 ปี โดยให้เกียรติบัตร ดังนี้ -เด็กอายุครบ 1 ปี ที่ไก้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และสุขภาพแข็งแรง - เด็กอายุครบ  5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ (BCG –DTP5/OPV5) (3) ประชุมชี้แจงให้ความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนแนวใหม่ให้แก่ผู้ปกครองเด็ก (4) . ติดตามเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์หรือรับวัคซีนล่าช้า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการรู้ทันวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2563

รหัสโครงการ 63-L3068-10(1)-04 รหัสสัญญา 63-L3068-10(1)-04 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

กิจกรรมแลกไข่ กรณีเด็กได้รับวัคซีนตามนัดที่มาตามกำหนดนัดมากว่า 5 ขึ้นไป

การให้ความร่วมมือของผู้ปกครองที่เข้าร่วมกิจกรรม

การดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและ สร้างแกนนำให้ความรู้ในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

เสริมสร้างแรงจูงใจให้กับผู้ปกครองและเด็ก 0-5 ปี โดยให้เกียรติบัตร

การให้ความร่วมมือของผู้ปกครองที่เข้าร่วมกิจกรรม

การดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและ สร้างแกนนำให้ความรู้ในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

กิจกรรมแลกไข่ กรณีเด็กได้รับวัคซีนตามนัดที่มาตามกำหนดนัดมากว่า 5 ขึ้นไป

การให้ความร่วมมือของผู้ปกครองที่เข้าร่วมกิจกรรม

การดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและ สร้างแกนนำให้ความรู้ในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

เสริมสร้างแรงจูงใจให้กับผู้ปกครองและเด็ก 0-5 ปี โดยให้เกียรติบัตร

เกิดเด็กต้นแบบในการรับวัคซีนครับตามเกณฑ์

สร้างบุคคลต้นแบบอย่างเนื่องเพื่อเป็นแรงจูงใจในการฉีดวัคซีน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการรู้ทันวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2563 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3068-10(1)-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุไอนี แวกุโน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด