กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง


“ โครงการมหกรรมเครือข่ายแกนนำสร้างสุขภาพวิถีชีวิตไทย ”

เขตเทศบาล ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางศุภวรรณ บุญละเอียด

ชื่อโครงการ โครงการมหกรรมเครือข่ายแกนนำสร้างสุขภาพวิถีชีวิตไทย

ที่อยู่ เขตเทศบาล ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L7012-02-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 พฤษภาคม 2560 ถึง 25 พฤษภาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหกรรมเครือข่ายแกนนำสร้างสุขภาพวิถีชีวิตไทย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตเทศบาล ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหกรรมเครือข่ายแกนนำสร้างสุขภาพวิถีชีวิตไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหกรรมเครือข่ายแกนนำสร้างสุขภาพวิถีชีวิตไทย " ดำเนินการในพื้นที่ เขตเทศบาล ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L7012-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 พฤษภาคม 2560 - 25 พฤษภาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 113,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างสุขภาพ ถือเป็นกลยุทธ์ทางสุขภาพที่กำลังได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าจะช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้บุคคลเกิดพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของบุคคลช่วยลดอัตราป่วยด้วยโรคต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคอันเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปเช่นโรคหัวใจและหลอดเลือดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคเครียดและโรคมะเร็ง สาเหตุที่พบอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเนื่องจาก กระบวนการสร้างสุขภาพ ไม่เพียงแต่จะเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการให้การศึกษาด้านสุขภาพเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับการสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดผลในทางปฏิบัติและสภาพการณ์ของการดำรงชีวิตที่สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมบรรทัดฐานทางสังคมสิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจซึ่งก็คือวิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งจะก่อให้เกิดภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ของบุคคลและชุมชนนั่นเอง แม้ระบบสุขภาพของคนไทยที่ผ่านมาจะได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนส่งผลให้สุขภาพของประชาชนในภาพรวมดีขึ้นและระบบบริการสุขภาพจะมีความก้าวหน้ามากขึ้นแต่ยังมุ่งที่การจัดบริการเพื่อการรักษาพยาบาลเป็นหลักคำว่าสุขภาพในความหมายของคนทั่วไปกลายเป็นเรื่องของการรอให้เจ็บป่วยก่อนแล้วค่อยรักษาทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายมากแต่ให้ผลตอบแทนด้านสุขภาพต่ำกว่าที่ควรจะเป็น นอกจากนี้แนวโน้มการเจ็บป่วยและปัญหาสุขภาพของประชาชนก็มีความซับซ้อนมากขึ้นดังนั้นการแก้ไขด้วยวิธีคิด วิธีการและองค์ความรู้เดิมจึงไม่เพียงพอ ถึงเวลาที่ทุกภาคส่วนของสังคมต้องมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยการสร้างสุขภาพและด้วยภูมิปัญญาของชุมชนทั้งสังคม โดยการเน้นให้ประชาชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องบริโภคอาหารที่สุกสะอาดปลอดภัยไม่ติดยาเสพติดส่งเสริมให้ประชาชนในแต่ละชุมชนรวมกลุ่มกันจัดกิจกรรมด้านสุขภาพในรูปของชมรมสร้างสุขภาพโดยมีวัตถุประสงค์ให้ชมรมสร้างสุขภาพเป็นศูนย์กลางและเป็นกลไกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุขภาพสู่ประชาชนส่งเสริมให้ประชาชนมีการออกกำลังกายและมีโภชนาการที่ดีเป็นการลดปัจจัยเสี่ยงง่ายๆด้วยต้นทุนต่ำป้องกันโรคต่างๆอาทิโรคเบาหวาน โรคหัวใจขาดเลือด โรคความดันโลหิตสูง ฯลฯ ไม่ให้เกิดขึ้นก่อนวัยอันควร ทำให้ประชาชนมีสมรรถภาพดี สามารถทำงานได้เต็มตามศักยภาพ ขณะเดียวกันก็เป็นการลดค่าใช้จ่ายเพื่อสุขภาพลงไปในตัวด้วย นอกจากนี้ การออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอื่นๆ เช่นมะเร็งลำไส้ใหญ่ โรคของกล้ามเนื้อกระดูกและข้อต่อต่างๆ ป้องกันโรคกระดูกพรุนในวัยกลางคน และโรคกระดูกตะโพกหักในวัยสูงอายุ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี ดังนั้นหากพิจารณาให้ลึกซึ้งจะเห็นได้ว่า การออกกำลังกายและมีภาวะโภชนาการที่ดี จึงเป็นมาตรการทางอ้อมที่ใช้ในการเพิ่มรายได้ประชาชาติได้ด้วย
หลักสำคัญในการดูแลสุขภาพเพื่อก้าวสู่การมีสุขภาพดี คือการให้ความรู้ทางด้านโภชนาการอาหาร การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ การดูแลสุขภาพจิตและลดพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ จะช่วยป้องกันโรคที่กล่าวมาแล้วทั้งหมดได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคให้ถูกชนิด ปริมาณ และถูกเวลา ควรเลือกกินอาหารให้ครบ 5หมู่ให้หลากหลายและพอเพียงงดอาหารหวาน มัน เค็ม ดุแลน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ที่พอเหมาะ ควบคู่ไปกับการออกกำลังกายสม่ำเสมอ จากนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรคมีเป้าหมายที่สำคัญ คือการสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว ได้ขยายขอบเขตการบริการส่งเสริมสุขภาพไปยังกลุ่มผู้มีสิทธิในการรักษาทุกประเภท เพื่อให้มีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง การที่แกนนำชมรมสร้างสุขภาพ จะสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้เพื่อขยายแนวร่วมการดำเนินงานสู่ภาคประชาชนได้จำเป็นจะต้องมีความรู้มีทักษะ และการให้คำแนะนำ ที่ถูกต้องรวมทั้งเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องการสร้างสุขภาพครอบคลุมเนื้อหากิจกรรม 3อ.2ส. ได้แก่ การออกกำลังกายอาหารปลอดภัย สุขภาพจิตและอารมณ์สุรา และบุหรี่ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่งร่วมกับแกนนำเครือข่ายชมรมสร้างสุขภาพจึงได้จัดทำโครงการมหกรรมเครือข่ายแกนนำสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ปีงบประมาณ 2560ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพวิถีไทยโดยการสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย
  2. 2.เพื่อเตรียมความพร้อมของเครือข่ายแกนนำสุขภาพในการนำนโยบายสู่การปฎิบัติการสร้างสุขภาพที่ยั่งยืน
  3. 3.เพื่อสร้างกระแสการสร้างสุขภาพของประชาชนในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เครือข่ายแกนนำสร้างสุขภาพของเทศบาลตำบลบ่อทอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 300
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๖.๑ เครือข่ายแกนนำสุขภาพ อสม. มีความสามัคคีและสัมพันธภาพที่ดี ๖.๒ ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลบ่อทองทราบประโยชน์และโทษ เรื่อง ๗ อ. ได้แก่อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ อนามัยสิ่งแวดล้อม อโรคยาและอบายมุข เอดส์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เครือข่ายแกนนำสร้างสุขภาพของเทศบาลตำบลบ่อทอง

วันที่ 24 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพวิถีไทยโดยการสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย
ตัวชี้วัด :

 

2 2.เพื่อเตรียมความพร้อมของเครือข่ายแกนนำสุขภาพในการนำนโยบายสู่การปฎิบัติการสร้างสุขภาพที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด :

 

3 3.เพื่อสร้างกระแสการสร้างสุขภาพของประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 300
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพวิถีไทยโดยการสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย (2) 2.เพื่อเตรียมความพร้อมของเครือข่ายแกนนำสุขภาพในการนำนโยบายสู่การปฎิบัติการสร้างสุขภาพที่ยั่งยืน (3) 3.เพื่อสร้างกระแสการสร้างสุขภาพของประชาชนในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เครือข่ายแกนนำสร้างสุขภาพของเทศบาลตำบลบ่อทอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมหกรรมเครือข่ายแกนนำสร้างสุขภาพวิถีชีวิตไทย จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L7012-02-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศุภวรรณ บุญละเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด