กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา


“ โครงการเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน ปี 2563 ”

ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุไฮนี แวกุโน

ชื่อโครงการ โครงการเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3068-10(1)-09 เลขที่ข้อตกลง 63-L3068-10(1)-09

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน ปี 2563 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3068-10(1)-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย พ.ศ.2555 (MICS4) ของสำนักงานสถิติแห่งชาติร่วมกับองค์การยูนิเซฟพบว่า เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีผอมร้อยละ 6.7 เตี้ยร้อยละ 16.4 และข้อมูลการสำรวจฐานข้อมูลรูปร่างและสรีระประชากรไทย        (SizeThailand) ในปี 2551 โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) พบว่าความสูงเฉลี่ยของชายไทยอยู่ที่ 169.46 ซม. หญิง 157 ซม. โดยกลุ่มอายุ 16–25 ปี พบว่าผู้ชายมีความสูงเฉลี่ย 171.36 ซม. และหญิงสูง 159.32 ซม. ในปี 2559 นี้ กระทรวงสาธารณสุข ได้มอบให้กรมอนามัยจัดทำยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทย เริ่มตั้งแต่ในครรภ์มารดา จนกระทั่งเป็นทารก เข้าสู่วัยเรียน และวัยรุ่น เน้นการส่งเสริมโภชนาการ และการออกกำลังกาย ตั้งเป้าหมาย 20 ปีข้างหน้า ชายไทยสูง 180 ซม. และหญิงไทยสูง 167 ซม. ทั้งนี้ ข้อมูลล่าสุดในปี 2558 ของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข รายงานมีเด็กวัยเรียนที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนเพียงร้อยละ 56 สาเหตุสำคัญส่วนหนึ่งเกิดจากการขาดสารอาหารเรื้อรัง ซึ่งข้อมูลวิชาการในหลายประเทศระบุว่า เด็กแรกเกิดถึง 5 ปีที่เตี้ย มักมีภูมิต้านทานต่ำ ส่งผลให้ติดเชื้อง่าย เจ็บป่วยบ่อย ป่วยนาน และรุนแรง มีโอกาสเสียชีวิตได้ และยังพบว่ามีผลต่อการพัฒนาสมอง โดยระดับสติปัญญาต่ำกว่าเด็กที่มีส่วนสูงตามเกณฑ์ พัฒนาการล่าช้า และความสามารถในการเรียนรู้บกพร่อง ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม เฉื่อยชา ความสูงต่างกันมากกว่า 3.4 ซม.มีผลต่อเกรดที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ เด็กที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม หรือมีภาวะเตี้ยมีความเสี่ยงสูงป่วยเป็นโรคเรื้อรังเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ เช่น โรคกระดูกพรุน โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดอีกด้วย กรมอนามัย ได้ดำเนินการส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยอย่างต่อเนื่อง อาทิจัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย สูงดี สมส่วน สมองดี แข็งแรง และโครงการเด็กวัยเรียนวัยใสโภชนาการดี เพื่อส่งเสริมเด็กปฐมวัยและวัยเรียนให้มีส่วนสูงระดับดี และรูปร่างสมส่วน แก้ไขปัญหาเตี้ย ผอม อ้วน รวมทั้งบูรณาการการดำเนินงานในคลินิกฝากครรภ์ คลินิกเด็กดี หมู่บ้าน ศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียน นอกจากนี้ ได้พัฒนาระบบเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็ก ตั้งแต่โรงพยาบาล ในคลินิกฝากครรภ์และคลินิกสุขภาพเด็กดี ในชุมชน/หมู่บ้าน ศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียน การให้ความรู้ทางโภชนาการในโรงเรียนพ่อแม่ รวมทั้งประสานความร่วมมือและสนับสนุนสื่อให้กับชุมชน ศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียน ในการจัดอาหารตามวัยในครอบครัว และการจำหน่ายอาหารว่างที่มีประโยชน์ในชุมชน รอบรั้วศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน เพื่อให้เด็กมีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ สูงดีสมส่วน สมองดี แข็งแรง ลดการเจ็บป่วยเป็นรากฐานของการเจริญเติบโตที่ดีในวัยเรียน เติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ ซึ่งการเพิ่มส่วนสูงมีระยะเวลาจำกัด ผู้ชายหยุดสูงเมื่ออายุ 18-19 ปี ผู้หญิงหยุดสูงเมื่ออายุ 16-17 ปี ช่วงโอกาสทองในการเพิ่มความสูงของเด็กให้สมวัยคือ ช่วงวัยรุ่น ซึ่งเป็นช่วงที่ร่างกายจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เด็กหญิงจะโตเร็วกว่าเด็กชาย 2 ปี เริ่มเข้าวัยรุ่นตั้งแต่ 9 ปี และความสูงจะเพิ่มมากที่สุดในช่วงอายุ 11-12 ปี ปีละ 6-7 ซม. ส่วนเด็กผู้ชายจะเริ่มเข้าวัยรุ่นเมื่ออายุ 11 ปี และสูงเพิ่มมากที่สุดตอนอายุ 13-14 ปี ปีละ 8-9 ซม. จึงต้องเตรียมร่างกายให้พร้อมก่อนที่จะเข้าสู่ช่วงที่มีความสูงเพิ่มมากที่สุด โดยรับประทานอาหาร 5 กลุ่มได้แก่ ข้าว-แป้ง ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์และนม ครบ 3 มื้อหลักในปริมาณเพียงพอ หลากหลาย และอาหารว่าง เช้า-บ่าย เช่นนมจืด ผลไม้ ขนมไทยรสไม่หวานจัด ไม่กินจุบจิบ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เช่นวิ่งเล่น กระโดดเชือก ว่ายน้ำ และนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อยวันละ 8 ชั่วโมง จากการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียนอายุ 6 -14 ปี ในปีการศึกษา 2562 ภาคเรียนที 1 ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา เดือน พฤษภาคม – มิถุนายน พบว่าอยู่ในเกณฑ์สูงดีสมส่วน ร้อยละ 69.31 และ เดือน ตุลาคม – พฤศจิกายน พบว่าอยู่ในเกณฑ์สูงดีสมส่วน ร้อยละ 71.63 จากจำนวนนักเรียนที่ ได้รับการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด 557 คน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา จึงเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน    ปี 2563 นี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีส่วนสูงอยู่ในระดับดีและรูปร่างสมส่วน
  2. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้ในเรื่องโภชนาการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก แล้วแปลผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์
  2. ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กวัยเรียนอายุ 6-14 ปี ทีมีภาวะ โภชนาการต่ำทุก 3 เดือน/ครั้ง แล้วแปลโดยการใช้กราฟแสดงเกณฑ์
  3. ให้ความรู้แก่เด็กวัยเรียนอายุ 6- 14 ปี เรื่อง โภชนาการในเด็กวัยเรียน
  4. ติดตามเด็กวัยเรียนอายุ 6- 14 ปี ที่มีภาวะโภชนาการต่ำ(ผอมค่อนข้างผอม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 181
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กวัยเรียนมีความรู้เรื่องโภชนาการเพิ่มขึ้นและสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  2. เด็กวัยเรียนมีส่วนสูงอยู่ในระดับดีและรูปร่างสมส่วนตามเกณฑ์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้แก่เด็กวัยเรียนอายุ 6- 14 ปี เรื่อง โภชนาการในเด็กวัยเรียน

วันที่ 9 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการเพื่อเสนออนุมัติโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบางตาวา ๒. ประชุมชี้แจงโครงการและแนวทางการดำเนินการแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อร่วมกันวางแผนและกำหนดกลวิธีในการดำเนินงาน
  2. สำรวจและจัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย
  3. จัดทำทะเบียนรายชื่อกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 6-14 ปี
  4. ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก แล้วแปลผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์
  5. ให้ความรู้เรื่องโภชนาการเด็กในวัยเรียน
  6. สรุปและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กวัยเรียนมีความรู้เรื่องโภชนาการเพิ่มขึ้นและสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  2. เด็กวัยเรียนมีส่วนสูงอยู่ในระดับดีและรูปร่างสมส่วนตามเกณฑ์

 

181 0

2. ติดตามเด็กวัยเรียนอายุ 6- 14 ปี ที่มีภาวะโภชนาการต่ำ(ผอมค่อนข้างผอม

วันที่ 15 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ดำเนินการติดตามกลุ่มเป้าหมายโดยอสม 2.ติดตามเด็กวัยเรียนอายุ 6- 14 ปี  ที่มีภาวะโภชนาการต่ำ(ผอมค่อนข้างผอม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กวัยเรียนมีความรู้เรื่องโภชนาการเพิ่มขึ้นและสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  2. เด็กวัยเรียนมีส่วนสูงอยู่ในระดับดีและรูปร่างสมส่วนตามเกณฑ์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีส่วนสูงอยู่ในระดับดีและรูปร่างสมส่วน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 66 ของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน
0.00

 

2 เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้ในเรื่องโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเด็กวัยเรียนมีความรู้เรื่องโภชนาการหลังจากเข้ารับการประชุมชี้แจง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 181
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 181
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีส่วนสูงอยู่ในระดับดีและรูปร่างสมส่วน (2) เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้ในเรื่องโภชนาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก แล้วแปลผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์ (2) ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กวัยเรียนอายุ  6-14  ปี ทีมีภาวะ โภชนาการต่ำทุก 3 เดือน/ครั้ง แล้วแปลโดยการใช้กราฟแสดงเกณฑ์ (3) ให้ความรู้แก่เด็กวัยเรียนอายุ 6- 14 ปี เรื่อง โภชนาการในเด็กวัยเรียน (4) ติดตามเด็กวัยเรียนอายุ 6- 14 ปี  ที่มีภาวะโภชนาการต่ำ(ผอมค่อนข้างผอม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน ปี 2563

รหัสโครงการ 63-L3068-10(1)-09 รหัสสัญญา 63-L3068-10(1)-09 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

การส่งเสริมและการสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องในการบริโภคให้ผู้ปกครอง

การให้ความร่วมมือของผู้ปกครองและการนำความไปปฏิบัติ

การสร้าง การรับรู้อย่างต่อเนื่องและสร้างแกนนำดูแลตามพื้นที่รับผิดชอบ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

การส่งเสริมการขยับกายตอนเช้าก่อนเข้าห้องเรียนให้กับเด็กวัยเรียน

การให้ความร่วมมือของครูในการจัดการสุขภาพและการจัดกิจการขยับกายในโรงเรียน

การสร้างเครือในกลุ่มเด็กในการเป็นแกนนำในโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน ปี 2563 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3068-10(1)-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุไฮนี แวกุโน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด