กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการร่วมใจ ใส่ใจดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ปี 2563 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพิชชานันท์ สุขเกษม

ชื่อโครงการ โครงการร่วมใจ ใส่ใจดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L6895-01-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมใจ ใส่ใจดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ปี 2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมใจ ใส่ใจดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมใจ ใส่ใจดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L6895-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันจำนวนผู้พิการทางจิตหรือผู้ป่วยจิตเวชมีแนวโน้มเพิ่มจำนวนมากขึ้น ระบบศูนย์กลางการให้บริการผู้ป่วยจิตเวชของประเทศไทย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข รายงานว่าในปีงบประมาณ 2561 มีจำนวนผู้พิการทางจิตเข้ารับบริการที่หน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 3,351,295 คน สภาพเช่นนี้เนื่องจากปัญหาด้านสังคมและเศรษฐกิจมีความยุ่งยากและซับซ้อนมากขึ้น ทำให้ มีผลต่อการปรับตัวของประชาชน และที่สำคัญยังส่งผลให้ผู้พิการทางจิต ซึ่งมีปัญหาการปรับตัวอยู่แล้ว    ขาดปัจจัยการดูแลช่วยเหลือให้สามารถรักษาภาวะสุขภาพและอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีคุณภาพ แม้ในกระบวนการบำบัดรักษาผู้พิการทางจิตในโรงพยาบาล มีเป้าหมายให้ผู้ป่วยสามารถดำรงชีวิตร่วมกับครอบครัวและชุมชนได้มากขึ้น โดยได้เพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดรักษาทั้งด้านการให้ยา และการบำบัดด้านจิตสังคม  แต่ผลสำเร็จจะเกิดขึ้นกับผู้พิการทางจิต หากได้รับการดูแลต่อเนื่อง และได้ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันเช่นคนทั่วไป ภายหลังการบำบัดรักษาหรือผู้ป่วยกลับสู่ชุมชนแล้วยังมีอุปสรรค ผู้ป่วยกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ยังขาดโอกาสจากชุมชนในการพัฒนาศักยภาพของตนเองให้สามารถมีชีวิตในสังคมเช่นคนทั่วไป ซึ่งอุปสรรคส่วนหนึ่งมีสาเหตุจาก  ตัวผู้ป่วยเอง เช่น การขาดความมั่นใจในการดำเนินชีวิตร่วมกับครอบครัวและผู้อื่น นอกจากนี้สังคมแวดล้อม ยังขาดความรู้ความเข้าใจหรือไม่เห็นความสำคัญของผู้ที่เจ็บป่วยหรือพิการทางจิตที่นับวันจะมีจำนวนและ  มีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น บุคคลในชุมชน รู้สึกกลัว รังเกียจ ไม่เชื่อมั่นในความสามารถของผู้ป่วยหรือคาดหวังกับผู้ป่วยมากเกินความสามารถของผู้ป่วย มีทัศนคติในทางลบต่อบุคคลที่เจ็บป่วยหรือพิการทางจิต    สภาพเหล่านี้ยิ่งทำให้ผู้พิการทางจิตไม่ได้รับการยอมรับจากสังคม และผู้พิการทางจิตยิ่งขาดโอกาสในการพัฒนาตนเองในการอยู่ร่วมในสังคมมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้ผู้พิการทางจิตเหล่านี้กลายเป็นผู้พิการทางจิตที่เป็นภาระหรือเป็นปัญหาของครอบครัวและสังคมในที่สุด จากข้อมูลงานสุขภาพจิตโรงพยาบาลกันตัง ประจำปีงบประมาณ 2562 พบว่ามีผู้พิการ  ทางจิตหรือผู้ป่วยจิตเวชในเขตเทศบาลเมืองกันตัง จำนวน 30 ราย ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลผู้พิการทางจิตให้ทุเลาจากการเจ็บป่วย จึงได้จัดทำโครงการร่วมใจ ใส่ใจดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ปี 2563 ขึ้น เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมของผู้ป่วยจิตเวช ป้องกันการเกิดอาการแทรกซ้อนที่อาจเป็นอันตราย ส่งผลให้ผู้ป่วย  จิตเวชสามารถดำเนินชีวิตในชุมชนได้ตามศักยภาพ และเป็นบุคคลที่มีคุณค่าของสังคมได้มากที่สุด อีกทั้งยังทำให้เกิดเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยจิตเวชขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยได้รับความรู้และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณตามสภาพผู้ป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวช

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 30
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ดูแลผู้ป่วยมีองค์ความรู้และมีทักษะในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
  2. ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 23 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • บรรยายเรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคทางจิตเวช การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในผู้ป่วยจิตเวช
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • บรรยายเรื่อง การใช้ยาในผู้ป่วยจิตเวช
  • สรุปผลการเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2563 ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลเมืองกันตัง ในเรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคทางจิตเวช การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในผู้ป่วยจิตเวช และการใช้ยาในผู้ป่วยจิตเวช โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง

 

20 0

2. กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวช

วันที่ 27 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวช ร่วมกับทีมจิตเวชโรงพยาบาลกันตัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวช ร่วมกับทีมจิตเวชโรงพยาบาลกันตัง ซึ่งมีผู้ป่วยจิตเวชที่ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน จำนวน 30 ราย

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2563 ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลเมืองกันตัง ในเรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคทางจิตเวช การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในผู้ป่วยจิตเวช และการใช้ยาในผู้ป่วยจิตเวช โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง
  2. ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวช ร่วมกับทีมจิตเวชโรงพยาบาลกันตัง ซึ่งมีผู้ป่วยจิตเวชที่ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน จำนวน 30 ราย รายละเอียดดังนี้
    • วันที่ 27 มกราคม 2563 ลงเยี่ยมผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 10 ราย ดังนี้
  3. นายสิทธิชัย สามทอง อายุ 37 ปี ที่อยู่ 9/6 ถ.ขื่อนา
  4. นายสำรอง  ขาวนวล อายุ 57 ปี ที่อยู่ 96 ถ.สถลสถานพิทักษ์
  5. นายยงยุทธ ชนะพิชัย อายุ 54 ปี ที่อยู่ 39 ถ.เทศบำรุง
  6. นายนิโรจน์ ชนะพิชัย อายุ 60 ปี ที่อยู่ 39 ถ.เทศบำรุง
  7. นายชรินทร์ แท่นทอง อายุ 42 ปี ที่อยู่ 36/3 ถ.ค่ายพิทักษ์
  8. นายบุญเลิศ ทองตัน อายุ 51 ปี ที่อยู่ 10/11 ถ.รถไฟ
  9. นางละออง ทองตัน อายุ 55 ปี ที่อยู่ 11/10 ถ.รถไฟ
  10. นายพุด แสงขาม อายุ 68 ปี ที่อยู่ 33/19 ถ.ขื่อนา
  11. นายวนศาสตร์ ชูจันทร์ อายุ 17 ปี ที่อยู่ 7/12 ถ.รถไฟ
  12. นายชณัตธี จุ้งเจริญศักดิ์กุล อายุ 42 ปี ที่อยู่ 90 ถ.ตรังคภูมิ
    • วันที่ 28 มกราคม 2563 ลงเยี่ยมผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 10 ราย ดังนี้
  13. นางสมนึก  ชะนะนาค อายุ 76 ปี ที่อยู่ 79/2 ถ.รถไฟ
  14. นายวัลลภ  ทวิสุวรรณ์ อายุ 40 ปี ที่อยู่ 316/48 ถ.ตรังคภูมิ
  15. นายธนงศักดิ์  สมแก้ว อายุ 37 ปี ที่อยู่ 42/10 ถ.คลองภาษี
  16. น.ส.สมฤดี  พัฒนา อายุ 33 ปี ที่อยู่ 42/8 ถ.คลองภาษี
  17. นายชัยรัตน์  สุวรรณสะอาด อายุ 30 ปี ที่อยู่ 15 ถ.ค่ายพิทักษ์
  18. นายเอกพจน์  เชื้อจันทร์ อายุ 24 ปี ที่อยู่ 59 ถ.รถไฟ
  19. น.ส.ลำยอง  ซุ่นเซ่ง อายุ 69 ปี ที่อยู่ 120/11 ถ.กิตติคุณ
  20. นายกันตพงศ์  วงศ์อภิชาติ อายุ 27 ปี ที่อยู่ 36/37 ถ.ขื่อนา
  21. นายจิระศักดิ์  ไชยอร่าม อายุ 36 ปี ที่อยู่ 87/1 ถ.รถไฟ
  22. นายสมคิด  พวงจันทร์ อายุ 54 ปี ที่อยู่ 9/1 ถ.ขื่อนา
    • วันที่ 29 มกราคม 2563 ลงเยี่ยมผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 10 ราย ดังนี้
  23. นายจักรพงศ์  แจ่มสุริยา อายุ 32 ปี ที่อยู่ 113 ถ.เขื่อนเพชร
  24. น.ส.สุจินดา  ช่วยจันทร์ อายุ 31 ปี ที่อยู่ 32 ถ.คลองภาษี
  25. น.ส.นวลจันทร์  บุญช่วย อายุ 68 ปี ที่อยู่ 57/73 ถ.ป่าไม้
  26. นางยุพา    ตรงภักดี อายุ 65 ปี ที่อยู่ 40/54 ถ.รถไฟ
  27. นายพงษ์พิพัฒน์  แซ่จิ้ว อายุ 32 ปี ที่อยู่ 42/12 ถ.หน้าค่าย
  28. นายณัฐภัทร โถวรุ่งเรือง อายุ 29 ปี ที่อยู่ 41/4 ถ.สถลสถานพิทักษ์
  29. นายนิวัติ  แสงใส อายุ 62 ปี ที่อยู่ 135/10 ถ.หน้าค่าย
  30. น.ส.จันทนา กาญจนวารี อายุ 44 ปี ที่อยู่ 60/9 ถ.ควนทองสี
  31. น.ส.มณีรัตน์ ยะตะโคตร อายุ 43 ปี ที่อยู่ 25 ถ.ขื่อนา 10.นายอุดม  ลีลาวรกุล อายุ 61 ปี ที่อยู่ 64 ซ.1 ถ.ขื่อนา ผู้ป่วยจิตเวชร้อยละ 100 ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยทีมจิตเวชพร้อมดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณตามสภาพผู้ป่วย
  32. สรุปค่าใช้จ่ายโครงการ เป็นเงินจำนวน  4,000 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยได้รับความรู้และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณตามสภาพผู้ป่วย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยจิตเวชได้รับการเยี่ยมบ้านพร้อมดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณตามสภาพผู้ป่วย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 30
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยได้รับความรู้และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณตามสภาพผู้ป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวช

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร่วมใจ ใส่ใจดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ปี 2563 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L6895-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพิชชานันท์ สุขเกษม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด