กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการเสริมพลังผู้ดูแล ร่วมใส่ใจดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2563 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพิชชานันท์ สุขเกษม

ชื่อโครงการ โครงการเสริมพลังผู้ดูแล ร่วมใส่ใจดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L6895-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมพลังผู้ดูแล ร่วมใส่ใจดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลังผู้ดูแล ร่วมใส่ใจดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมพลังผู้ดูแล ร่วมใส่ใจดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L6895-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยกำลังมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านสาธารณสุข ปัญหาสุขภาพส่วนใหญ่พบว่า ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นจากโรคเรื้อรัง อายุ อุบัติเหตุและการเจ็บป่วยในระยะท้ายของชีวิต  ปี 2558 รัฐบาลมีนโยบายทีมหมอครอบครัวในการดูแลสุขภาพที่บ้าน โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนให้เกิดการดูแลซึ่งกันและกัน จากการลงเยี่ยมบ้านของศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง ในปีงบประมาณ 2562 พบว่ามีผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง จำนวน 30 ราย การดูแลสุขภาพที่บ้านยังเป็นบทบาทหลักของทีมสุขภาพ และยังขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลของครอบครัวและชุมชน เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความสามารถในการป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วย หรือเมื่อมีการเจ็บป่วยเกิดขึ้นก็สามารถรักษาเบื้องต้น ป้องกันและฟื้นฟูสภาพไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนหรือความพิการได้
ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่บ้าน จึงได้จัดทำโครงการเสริมพลังผู้ดูแล ร่วมใส่ใจดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2563 ขึ้น เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง และเกิดทักษะการดูแลผู้ป่วยได้เบื้องต้น ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจเป็นอันตราย อีกทั้งยังทำให้เกิดเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยและอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีความรู้และมีทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณตามสภาพผู้ป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ
  2. ผู้ดูแลผู้ป่วยมีองค์ความรู้และมีทักษะในการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 3 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • บรรยายเรื่อง การดูแลสุขภาพในผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • บรรยายเรื่อง การฟื้นฟูสภาพร่างกายโดยการทำกายภาพบำบัด
  • พักรับประทานอาหารกลางวัน
  • แบ่งกลุ่มเรียนรู้ 2 ฐาน ฐานที่ 1 การดูแลแผล การดูแลผู้ป่วยที่ให้อาหารทางสายยาง  การดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายออกซิเจน ฐานที่ 2 การทำกายภาพบำบัด การพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย การป้องกันการเกิดกล้ามเนื้อลีบ ข้อติดแข็ง การป้องกันการเกิดข้อไหล่เคลื่อนหลุดและการป้องกันการเกิดข้อเท้าตก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง และอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงที่สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2563 ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลเมืองกันตัง    ในเรื่องการดูแลสุขภาพในผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง การฟื้นฟูสภาพร่างกายโดยการทำกายภาพบำบัด พร้อมเข้าฐานเรียนรู้ 2 ฐาน โดยทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง  ดังนี้
    ฐานที่ 1 การดูแลแผล การดูแลผู้ป่วยที่ให้อาหารทางสายยาง การดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายสวนปัสสาวะ และการดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายออกซิเจน
    ฐานที่ 2 การทำกายภาพบำบัด การพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย การป้องกันการเกิดกล้ามเนื้อลีบ ข้อติดแข็ง การป้องกันการเกิดข้อไหล่เคลื่อนหลุด การป้องกันการเกิดข้อเท้าตก และการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
  2. มีการประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม  ผลการประเมิน มีดังนี้ ประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรมก่อนและหลังการอบรม  ซึ่งใช้แบบประเมินความรู้เรื่อง การดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง  และการฟื้นฟูสภาพร่างกายโดยการทำกายภาพบำบัด (รูปแบบคำถาม คือ การพิจารณาข้อความ และทำเครื่องหมายถูก-ผิดหน้าข้อความ จำนวน 10 ข้อๆละ 1 คะแนน รวมคะแนนเต็ม 10 คะแนน)  สามารถสรุปผลการประเมิน  ได้ดังนี้

- ก่อนการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 30 ชุด พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนสูงสุด อยู่ที่ 8 คะแนน จำนวน 9 คน  รองลงมา คือ 7 คะแนน จำนวน 8 คน  6 คะแนน จำนวน 10 คน          5 คะแนน จำนวน 2 คน  และ 4 คะแนน จำนวน 1 คน จะเห็นได้ว่าก่อนการอบรมผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่  ได้คะแนนมากที่สุด คือ 8 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 30  รองลงมา คือ 7 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 26.67              6 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 33.33  5 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 6.67 และ 4 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 3.33ตามลำดับดังตาราง - หลังการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 30 ชุด พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนสูงสุด อยู่ที่ 10 คะแนน จำนวน 9 คน  รองลงมา คือ 9 คะแนน จำนวน 8 คน  8 คะแนน จำนวน 10 คน  และคะแนนต่ำสุดอยู่ที่ 7 คะแนน จำนวน 3 คน

 

30 0

2. กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง

วันที่ 24 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในชุมชน  ซึ่งมีผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านจำนวน  30  ราย

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง และอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงที่สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2563 ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลเมืองกันตัง  ในเรื่องการดูแลสุขภาพในผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง การฟื้นฟูสภาพร่างกายโดยการทำกายภาพบำบัด พร้อมเข้าฐานเรียนรู้ 2 ฐาน โดยทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง ดังนี้
    ฐานที่ 1 การดูแลแผล การดูแลผู้ป่วยที่ให้อาหารทางสายยาง การดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายสวนปัสสาวะ และการดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายออกซิเจน
    ฐานที่ 2 การทำกายภาพบำบัด การพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย การป้องกันการเกิดกล้ามเนื้อลีบ ข้อติดแข็ง การป้องกันการเกิดข้อไหล่เคลื่อนหลุด การป้องกันการเกิดข้อเท้าตก และการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
  2. มีการประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม ผลการประเมิน มีดังนี้ ประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรมก่อนและหลังการอบรม ซึ่งใช้แบบประเมินความรู้เรื่อง การดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง และการฟื้นฟูสภาพร่างกายโดยการทำกายภาพบำบัด (รูปแบบคำถาม คือ การพิจารณาข้อความ และทำเครื่องหมายถูก-ผิดหน้าข้อความ จำนวน 10 ข้อๆละ 1 คะแนน รวมคะแนนเต็ม 10 คะแนน) สามารถสรุปผลการประเมิน ได้ดังนี้

- ก่อนการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 30 ชุด พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนสูงสุด อยู่ที่ 8 คะแนน จำนวน 9 คน รองลงมา คือ 7 คะแนน จำนวน 8 คน 6 คะแนน จำนวน 10 คน      5 คะแนน จำนวน 2 คน และ 4 คะแนน จำนวน 1 คน จะเห็นได้ว่าก่อนการอบรมผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่  ได้คะแนนมากที่สุด คือ 8 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 30 รองลงมา คือ 7 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 26.67        6 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 33.33 5 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 6.67 และ 4 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 3.33ตามลำดับดังตาราง - หลังการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 30 ชุด พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนสูงสุด อยู่ที่ 10 คะแนน จำนวน 9 คน รองลงมา คือ 9 คะแนน จำนวน 8 คน 8 คะแนน จำนวน 10 คน และคะแนนต่ำสุดอยู่ที่ 7 คะแนน จำนวน 3 คน 3. ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในชุมชน ซึ่งมีผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านจำนวน 30 ราย รายละเอียดดังนี้ - วันที่ 24 สิงหาคม 2563 ลงเยี่ยมผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง จำนวน 8 ราย
- วันที่ 25 สิงหาคม 2563 ลงเยี่ยมผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง จำนวน 8 ราย
- วันที่ 26 สิงหาคม 2563 ลงเยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง จำนวน 8 ราย
- วันที่ 27 สิงหาคม 2563 ลงเยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง จำนวน 6 ราย
4. สรุปค่าใช้จ่ายโครงการ เป็นเงินจำนวน 23,200 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยและอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีความรู้และมีทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงและอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้คะแนนประเมินความรู้หลังการอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณตามสภาพผู้ป่วย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยทีมเครือข่ายสุขภาพและอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง พร้อมดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยและอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีความรู้และมีทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณตามสภาพผู้ป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมพลังผู้ดูแล ร่วมใส่ใจดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2563 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L6895-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพิชชานันท์ สุขเกษม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด