กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) ใส่ใจดูแลผู้สูงวัย ปี 2563 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
น.ส.พิชชานันท์ สุขเกษม

ชื่อโครงการ โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) ใส่ใจดูแลผู้สูงวัย ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L6895-01-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) ใส่ใจดูแลผู้สูงวัย ปี 2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) ใส่ใจดูแลผู้สูงวัย ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) ใส่ใจดูแลผู้สูงวัย ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L6895-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,575.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยได้กลายเป็นสังคมสูงอายุมาตั้งแต่ปี 2548 และกำลังจะกลายเป็นสังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ภายในปี 2565 ในรอบ 50 ปีที่ผ่านมา ผู้สูงอายุไทยได้เพิ่มจำนวนขึ้นเกือบ 7 เท่าตัว ในปี 2513 ประเทศไทยมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเพียง 1.7 ล้านคน และเพิ่มจำนวนเป็น 4 ล้านคนในปี 2533 และในปี 2561 ประเทศไทยมีประชากรทั้งหมด (ไม่รวมแรงงานข้ามชาติ) ประมาณ 66 ล้านคน ในจำนวนนี้เป็นผู้สูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 12 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 18 ของประชากรทั้งหมด เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 11 ล้านคน วัยแรงงานอายุ 15-59 ปี จำนวน 43 ล้านคน และในปี 2581 ประชากรสูงอายุไทยจะเพิ่มจำนวนขึ้นอีกเกือบเท่าตัว คือ เป็น 20 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 30 ของประชากรทั้งหมด ขณะที่จำนวนเด็กจะลดลงเหลือเพียง 9 ล้านคน และวัยแรงงานอายุ 15-59 ปี จะลดลงเหลือ 37 ล้านคน ขณะนี้การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอายุของประชากรไทยได้ก่อให้เกิดผลกระทบในหลายๆด้าน ต่อภาวะเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย และนับจากวันนี้เป็นต้นไปผลกระทบเหล่านี้ก็จะยิ่งทวีความรุนแรงและเห็นได้ชัดเจนขึ้น กล่าวคือ ประชากรวัยเด็กลดลง ส่งผลต่อการยุบและควบรวมของโรงเรียนที่มีเด็กนักเรียนน้อยลง ประชากรวัยทำงานลดลง ส่งผลให้ต้องมุ่งเน้นคุณภาพแรงงาน เช่น การพัฒนาทักษะ ฝีมือแรงงาน การใช้เทคโนโลยี เครื่องจักรกล การนำเข้าแรงงานบางประเภท และการขยายอายุการทำงาน ประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้น ส่งผลต่อการจัดระบบสวัสดิการ และการประกันสังคมแก่ผู้สูงอายุ การบริการทางด้านสุขภาพอนามัยและการดูแลผู้สูงอายุ เป็นต้น จากข้อมูลงานผู้สูงอายุของศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง ในปีงบประมาณ 2562 พบว่า มีผู้สูงอายุ จำนวน 1,995 ราย การดูแลสุขภาพที่บ้านยังเป็นบทบาทหลักของทีมสุขภาพ และยังขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลของชุมชน ตลอดจนอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ เป็นบุคคลที่ใกล้ชิดกับผู้ป่วย เข้าถึงประชาชนได้มากที่สุด และเป็นเครือข่ายสุขภาพในระดับชุนชนที่มีความรู้และมีศักยภาพในการปฏิบัติงาน มีบทบาทหน้าที่กระจายความรู้ทางด้านสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความสามารถในการป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วย หรือเมื่อมีการเจ็บป่วยเกิดขึ้นก็สามารถรักษาเบื้องต้น ป้องกันและฟื้นฟูสภาพไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนหรือความพิการได้ ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง เล็งเห็นความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน จึงจัดทำโครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) ใส่ใจดูแลผู้สูงวัย ปี 2563 ขึ้น เพื่อให้กลุ่มอาสาสมัครดังกล่าวได้ร่วมกันดูแล ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน ซึ่งเป็นกลไกในการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพให้เกิดความยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแก่อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.)
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ และได้รับการเยี่ยมบ้านพร้อมดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ
  3. เพื่อสร้างเครือข่ายในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) มีทักษะการดูแลฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม
  2. ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองกันตังได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ และได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ
  3. มีเครือข่ายในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 20 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • บรรยายเรื่อง ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ผู้สูงอายุ บทบาทความสำคัญของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุและหลักการดูแลผู้สูงอายุเบื้องต้น
  • พักับประทานอาหารว่าง -แบ่งกลุ่มเรียนรู้พร้อมประเมินทักษะ 4 ฐาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ จำนวน 80 คน  เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2563  ณ  อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง  ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ผู้สูงอายุ บทบาทความสำคัญของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุและหลักการดูแลผู้สูงอายุเบื้องต้น พร้อมเข้าฐานเรียนรู้ 4 ฐาน โดยทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตังและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง ดังนี้ ฐานที่ 1 การประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ           (Barthel ADL Index)
    ฐานที่ 2  การประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ/การดูแลสภาพแวดล้อมในบ้าน ฐานที่ 3  การออกกำลังกาย/การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายของผู้สูงอายุ (ยางยืด) ฐานที่ 4  อาหารและโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ 1.1 มีการประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรมของผู้เข้ารับการอบรม พร้อมประเมินทักษะ ประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรม ก่อนและหลังการอบรม ซึ่งใช้แบบประเมินความรู้เรื่องการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุและหลักการดูแลผู้สูงอายุเบื้องต้น สามารถสรุปผลการประเมินได้ตามตารางด้านล่าง ดังนี้

- ก่อนการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 80 ชุด
- หลังการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 80 ชุด
ผลการประเมินทักษะ 1.2.1 ฐานที่ 1 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเรียนรู้และแปลผลการประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุได้ถูกต้อง  จำนวน  71 คน  คิดเป็นร้อยละ  88.75
1.2.2 ฐานที่ 2 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเรียนรู้และประเมินภาวะหกล้มของผู้สูงอายุได้ถูกต้อง  จำนวน  75 คน  คิดเป็นร้อยละ  93.75
1.2.3 ฐานที่ 3 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเรียนรู้และปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยยางยืด เพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายของผู้สูงอายุได้ถูกต้อง  จำนวน  78 คน  คิดเป็นร้อยละ  97.50 1.2.4 ฐานที่ 4  ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเรียนรู้และประเมินภาวะโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุได้ถูกต้อง  จำนวน  77 คน  คิดเป็นร้อยละ 96.25

 

80 0

2. กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ

วันที่ 21 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เยี่ยมบ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ(อผส.)

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ จำนวน 80 คน เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2563 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ผู้สูงอายุ บทบาทความสำคัญของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุและหลักการดูแลผู้สูงอายุเบื้องต้น พร้อมเข้าฐานเรียนรู้ 4 ฐาน โดยทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตังและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง ดังนี้ ฐานที่ 1 การประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ       (Barthel ADL Index)
    ฐานที่ 2 การประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ/การดูแลสภาพแวดล้อมในบ้าน ฐานที่ 3 การออกกำลังกาย/การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายของผู้สูงอายุ (ยางยืด) ฐานที่ 4 อาหารและโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ 1.1 มีการประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรมของผู้เข้ารับการอบรม พร้อมประเมินทักษะ ประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรม ก่อนและหลังการอบรม ซึ่งใช้แบบประเมินความรู้เรื่องการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุและหลักการดูแลผู้สูงอายุเบื้องต้น สามารถสรุปผลการประเมินได้ตามตารางด้านล่าง ดังนี้

- ก่อนการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 80 ชุด
- หลังการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 80 ชุด
1.2 มีการประเมินทักษะ ผลการประเมินทักษะ 1.2.1 ฐานที่ 1 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเรียนรู้และแปลผลการประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุได้ถูกต้อง จำนวน 71 คน คิดเป็นร้อยละ 88.75
1.2.2 ฐานที่ 2 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเรียนรู้และประเมินภาวะหกล้มของผู้สูงอายุได้ถูกต้อง จำนวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ 93.75
1.2.3 ฐานที่ 3 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเรียนรู้และปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยยางยืด เพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายของผู้สูงอายุได้ถูกต้อง จำนวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 97.50 1.2.4 ฐานที่ 4 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเรียนรู้และประเมินภาวะโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุได้ถูกต้อง จำนวน 77 คน คิดเป็นร้อยละ 96.25 2. ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ(อผส.)
3. สรุปค่าใช้จ่ายโครงการ เป็นเงินจำนวน 20,495 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแก่อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ได้รับความรู้และได้รับการพัฒนาทักษะการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ และได้รับการเยี่ยมบ้านพร้อมดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ และได้รับการเยี่ยมบ้านพร้อมดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ
0.00

 

3 เพื่อสร้างเครือข่ายในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแก่อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ และได้รับการเยี่ยมบ้านพร้อมดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ (3) เพื่อสร้างเครือข่ายในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) ใส่ใจดูแลผู้สูงวัย ปี 2563 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L6895-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส.พิชชานันท์ สุขเกษม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด