กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการชุมชนปลอดบุหรี่ : ตำบลสะเตงนอก ”

ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางศรัณยา ปูเตะ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนปลอดบุหรี่ : ตำบลสะเตงนอก

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 05/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 31 พฤษภาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนปลอดบุหรี่ : ตำบลสะเตงนอก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนปลอดบุหรี่ : ตำบลสะเตงนอก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนปลอดบุหรี่ : ตำบลสะเตงนอก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 31 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสูบบุหรี่ นับเป็นพฤติกรรมเสี่ยงส่งผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ NCDs และเป็นปัจจัยสำคัญ  ที่ส่งผลให้เกิดภาระโรคที่เพิ่มสูงขึ้นในประชากรไทยจากการวิเคราะห์สถานการณ์การบริโภคยาสูบในช่วง 10 ปี    ที่ผ่านมา (2550–2559) พบว่า ความชุกของผู้สูบบุหรี่มีแนวโน้มค่อนข้างคงที่ แม้ว่าประเทศไทยจะมี            การดำเนินการมาตรการเพื่อร่วมมือกันในหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชนและภาคีเครือข่าย ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว แต่ยังพบว่าคนไทยจำนวนไม่น้อยที่ยังคงสูบบุหรี่แล้วไม่สามารถเลิกสูบได้ เด็กและเยาวชนที่กำลังก้าวสู่การเป็นนักสูบหน้าใหม่ยังคงมีอยู่ทุกพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา มีประชากรทั้งหมด 32,456 คน 13,152 ครัวเรือน ยังคงพบมีผู้ที่สูบบุหรี่ที่ยังไม่สามารถเลิกได้ และพบมีนักสูบหน้าใหม่เช่นเดียวกับทุกพื้นที่ในประเทศไทย สถานการณ์การบริโภคยาสูบในตำบลสะเตงนอก พบว่า มีผู้สูบบุหรี่ จำนวน 1,๖๗๒ คน(ข้อมูลจาก HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม ๒๕๖๒) ซึ่งแสดงถึงการมีปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพทั้งที่เกิดกับผู้สูบบุหรี่ และผู้ที่ได้รับผลกระทบจากควันบุหรี่มือสอง การเฝ้าระวัง การป้องกัน การรณรงค์ การให้ความรู้ การบำบัดฟื้นฟู และการบังคับใช้กฎหมาย จึงมีความจำเป็นต่อการดำเนินงานในการขับเคลื่อนที่จะทำให้ชุมชนตำบลสะเตงนอกเป็นชุมชนปลอดบุหรี่ ประกอบกับการที่มีภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็งในการดำเนินงานต่างๆ ในพื้นที่ อาทิเช่น โรงพยาบาลส่งเสริมเสริมสุขภาพตำบล เครือข่ายบริการสุขภาพ ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้าน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ฯลฯ จึงเป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้การดำเนินงานด้านการควบคุมการบริโภคยาสูบในพื้นที่ตำบลสะเตงนอกมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตำบลสะเตงนอก จึงได้จัดทำโครงการชุมชนปลอดบุหรี่ : ตำบลสะเตงนอก  เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปลอดบุหรี่ต้นแบบ สอดคล้องตามนโยบาย มาตรการ และแผนการดำเนินการตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 อันจะส่งต่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน    ในตำบลสะเตงนอกต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างกลไกลและนโยบายในการดำเนินงานด้านการควบคุมการบริโภคยาสูบ
  2. 2. เพื่อพัฒนาทีมงานและภาคีเครือข่ายด้านการควบคุมการบริโภคยาสูบในพื้นที่
  3. 3. เพื่อสร้างความตระหนักและป้องกันนักสูบหน้าใหม่
  4. 4. เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่
  5. 5. เพื่อสนับสนุนหรือสร้างระบบในการช่วยเลิกบุหรี่
  6. เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
  7. เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
  8. เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้
  2. ๒.กิจกรรมสื่อสารความเสี่ยงในสถานศึกษา จำนวน 12 แห่งๆละ 1 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีคณะทำงาน และนโยบายในการดำเนินงานด้านการควบคุมการบริโภคยาสูบ
  2. ทีมงานและภาคีเครือข่ายด้านการควบคุมการบริโภคยาสูบในพื้นที่มีศักยภาพ สามารถดำเนินงานและขับเคลื่อนชุมชนให้เป็นชุมชนปลอดบุหรี่
  3. ประชาชน ร้านค้า และประชาชนทั่วไป มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลกระทบจากการบริโภคยาสูบ
  4. พื้นที่เป้าหมายปฏิบัติตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560
  5. มีระบบในการดูแลและช่วยเหลือสำหรับผู้ที่ต้องการเลิกบุหรี่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเตงนอก ได้ดำเนินการจัดโครงการชุมชนปลอดบุหรี่ : ตำบลสะเตงนอก ในวันที่ 10 มีนาคม 2563 ได้จัดอบรมให้ความรู้ทราบสถานการณ์ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และความสำคัญในการดำเนินงานควบคุมการบริโภคยาสูบ ให้แก่คณะทำงาน และผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 60 คน เพื่อพัฒนาทีมงานและภาคีเครือข่ายด้านการควบคุมการบริโภคยาสูบในพื้นที่ โดยมีวิทยากรบรรยายให้ความรู้ในกิจกรรมดังกล่าว

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างกลไกลและนโยบายในการดำเนินงานด้านการควบคุมการบริโภคยาสูบ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อพัฒนาทีมงานและภาคีเครือข่ายด้านการควบคุมการบริโภคยาสูบในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. เพื่อสร้างความตระหนักและป้องกันนักสูบหน้าใหม่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4. เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 5. เพื่อสนับสนุนหรือสร้างระบบในการช่วยเลิกบุหรี่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

6 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
ตัวชี้วัด : จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายเพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)
5.00

 

7 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(คน)
60.00

 

8 เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ
ตัวชี้วัด : การได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะลดลงเหลือ(ร้อยละ)
20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างกลไกลและนโยบายในการดำเนินงานด้านการควบคุมการบริโภคยาสูบ (2) 2. เพื่อพัฒนาทีมงานและภาคีเครือข่ายด้านการควบคุมการบริโภคยาสูบในพื้นที่ (3) 3. เพื่อสร้างความตระหนักและป้องกันนักสูบหน้าใหม่ (4) 4. เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ (5) 5. เพื่อสนับสนุนหรือสร้างระบบในการช่วยเลิกบุหรี่ (6) เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย (7) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน (8) เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ (2) ๒.กิจกรรมสื่อสารความเสี่ยงในสถานศึกษา จำนวน 12 แห่งๆละ 1 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนปลอดบุหรี่ : ตำบลสะเตงนอก จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศรัณยา ปูเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด