กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง


“ รณรงค์อาหารปลอดภัย ห่วงใยผู้บริโภค ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาววรวลัญช์ ทองขาว

ชื่อโครงการ รณรงค์อาหารปลอดภัย ห่วงใยผู้บริโภค

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5309-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"รณรงค์อาหารปลอดภัย ห่วงใยผู้บริโภค จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รณรงค์อาหารปลอดภัย ห่วงใยผู้บริโภค



บทคัดย่อ

โครงการ " รณรงค์อาหารปลอดภัย ห่วงใยผู้บริโภค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5309-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2563 - 31 มีนาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 92,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดเป้าหมายในอันที่จะมุ่งสร้างหลักประกันและความมั่นคง ในการมีสุขภาพที่ดีแก่ประชาชน โดยกำหนดเป็นนโยบายและเป็นภารกิจระดับชาติที่อยู่ภายใต้แนวคิด “กระทรวงสาธารณสุข มุ่งสร้างคนไทยให้มีสุขภาพแข็งแรง” มุ่งเน้นในการกระตุ้นให้ประชาชนหันมาเอาใจใส่ดูแลสุขภาพของตัวเอง นอกจากการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอแล้ว การที่จะมีสุขภาพที่ดี  ยังต้องประกอบด้วย ปัจจัยหลักที่สำคัญที่สุดอีกประการหนึ่ง นั่นคือ อาหารที่บริโภคจะต้องเป็นอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และปราศจากสารพิษปนเปื้อน ดังนั้น เทศบาลตำบลกำแพงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการรณรงค์ให้ประชาชนใส่ใจในการเลือกบริโภคอาหาร นอกจากการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอแล้ว ร่างกายจึงจะแข็งแรงและปลอดภัย จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์อาหารปลอดภัย ห่วงใยผู้บริโภคขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนาและสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่เหมาะสม อันจะส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารในบู๊ทจำหน่ายอาหารใน งานมรกตอันดามัน มหัศจรรย์อาหารอร่อย ของดีที่ละงู ครั้งที่ 13
  2. เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักและเฝ้าระวัง ตนเองจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม
  3. เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนตระหนักถึงพิษภัยของอาหารที่ปนเปื้อนสารพิษ
  4. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการร้านอาหารมีเมนูอาหารที่สะอาดปลอดภัยเป็นเมนูทางเลือกเมนูชุสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร
  2. กิจกรรมอบรมผู้มาร่วมงานในงานมรกตอันดามัน มหัศจรรย์อาหารอร่อย ของดีที่ละงู ครั้งที่ 13
  3. จัดนิทรรศการ และเดินรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารปลอดภัย และความรู้ด้านสาธารณสุข
  4. กิจกรรมเมนูชูสุขภาพ
  5. กิจกรรมมอบป้าย Clean Food Good Taste
  6. สรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ปราศจากสารเคมีและสิ่งปนเปื้อน
  2. ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง อันจะส่งผลให้มี สุขภาพแข็งแรง และปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

มีการอบรมให้ความรู้เรื่อง มาตรฐานการสุขาภิบาลของผู้สัมผัสอาหารและผู้ประกอบการร้านอาหาร และแนวทางการพัฒนาชมรมผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 60 คน ผลลัพธ์ ผู้เข้าร่วมการอบรมให้ความรู้เรื่อง มาตรฐานการสุขาภิบาลของผู้สัมผัสอาหารและผู้ประกอบการร้านอาหาร และแนวทางการพัฒนาชมรมผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร มีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80

 

60 0

2. กิจกรรมอบรมผู้มาร่วมงานในงานมรกตอันดามัน มหัศจรรย์อาหารอร่อย ของดีที่ละงู ครั้งที่ 13

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ผู้มาร่วมงานในงานมรกตอันดามัน มหัศจรรย์อาหารอร่อย ของดีที่ละงู ครั้งที่ 13 และกิจกรรมเดินรณรงค์อาหารปลอดภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต มีผู้เข้าร่วม จำนวน 250 คน ผลลัพธ์ ผู้บริโภคตระหนักและเฝาระวังตนเองจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม

 

250 0

3. จัดนิทรรศการ และเดินรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารปลอดภัย และความรู้ด้านสาธารณสุข

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

มีการจัดนิทรรศการ และเดินรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารปลอดภัย (Food Safety) และความรู้ด้านสาธารณสุข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ผู้ร่วมชมนิทรรศการและเดินรณรงค์ จำนวน 250 คน ผลลัพธ์ ผู้ร่วมมีความพึงพอใจต่อกิจกรรม ร้อยละ 95

 

250 0

4. กิจกรรมเมนูชูสุขภาพ

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

สาธิตอาหารเมนูชูสุขภาพ วันละ 2 เมนู ในวันที่ 10 - 16 กุมภาพันธ์ 2563

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต มีร้านที่เข้าร่วมสาธิตเมนูชูสุขภาพ จำนวน 14 ร้าน และผู้เข้าร่วมชิมอาหาร จำนวน 400 คน ผลลัพธ์ ผู้ประกอบการมีเมนูอาหารที่สะอาดปลอดภัยเป็นเมนูทางเลือกเมนูชูสุขภาพ

 

250 0

5. กิจกรรมมอบป้าย Clean Food Good Taste

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

มอบป้าย Clean Food Good Taste ให้แก่ร้านอาหารและแผงลลอยจำหน่ายอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กรมอนามัยกำหนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ร้านอาหารที่ผ่านเกณฑทมาตรฐาน Clean Food Good Taste จำนวน 5 ร้าน และแผงลอยจำหน่ายอาหารที่ผ่านเกณฑทมาตรฐาน Clean Food Good Taste จำนวน 5 ร้าน ผลลัพธ์ ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน Clean Food Good Taste ร้อยละ 80

 

10 0

6. สรุปผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 31 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินงาน โดยมีผู้ตอบแบบประเมินจำนวน 250 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ผู้ตอบแบบประเมินจำนวน 250 คน ผลลัพธ์ โดยมีความพึงพอใจโดยรวมของโครงการร้อยละ 92

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารในบู๊ทจำหน่ายอาหารใน งานมรกตอันดามัน มหัศจรรย์อาหารอร่อย ของดีที่ละงู ครั้งที่ 13
ตัวชี้วัด : สุ่มตรวจอาหาร ภาชนะ และผู้สัมผัสอาหาร ด้วยน้ำยา SI2 ตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 80 ของจำนวนตัวอย่างทั้งหมด
0.00

 

2 เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักและเฝ้าระวัง ตนเองจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน Clean Food Good Taste ร้อยละ 80 ของจำนวนร้านอาหารทั้งหมด
0.00

 

3 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนตระหนักถึงพิษภัยของอาหารที่ปนเปื้อนสารพิษ
ตัวชี้วัด : มีผู้เข้าร่วมเดินรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารปลอดภัยและความรู้ด้านสาธารณสุข และชมนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารปลอดภัย (Food Safety)
0.00

 

4 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการร้านอาหารมีเมนูอาหารที่สะอาดปลอดภัยเป็นเมนูทางเลือกเมนูชุสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ประชาชนได้รับคุณค่าอาหารตามหลักโภชนาการ เพื่อส่งเสริมให้คนมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารในบู๊ทจำหน่ายอาหารใน งานมรกตอันดามัน มหัศจรรย์อาหารอร่อย ของดีที่ละงู ครั้งที่ 13 (2) เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักและเฝ้าระวัง ตนเองจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม (3) เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนตระหนักถึงพิษภัยของอาหารที่ปนเปื้อนสารพิษ (4) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการร้านอาหารมีเมนูอาหารที่สะอาดปลอดภัยเป็นเมนูทางเลือกเมนูชุสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร (2) กิจกรรมอบรมผู้มาร่วมงานในงานมรกตอันดามัน มหัศจรรย์อาหารอร่อย ของดีที่ละงู ครั้งที่ 13 (3) จัดนิทรรศการ และเดินรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารปลอดภัย และความรู้ด้านสาธารณสุข (4) กิจกรรมเมนูชูสุขภาพ (5) กิจกรรมมอบป้าย Clean Food Good Taste (6) สรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


รณรงค์อาหารปลอดภัย ห่วงใยผู้บริโภค จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5309-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววรวลัญช์ ทองขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด