กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ชุมชนบาโร๊ะรวมพลังเฝ้าระวังไข้มาลาเรีย ปี 2563
รหัสโครงการ 63-L4148-2-18
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบาโร๊ะ
วันที่อนุมัติ 29 มิถุนายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 94,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางมีซัน มณีหิยา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาโร๊ะ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.457,101.133place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันโรคไข้มาลาเรียยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของจังหวัดยะลา โดยมีอัตราป่วยสูง เนื่องจากสภาพภูมิศาสตร์และสภาพภูมิอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเจริญเติบโตและการระบาดของเชื้อมาลาเรีย การเคลื่อนย้ายของประชากรตามแนวชายแดนยังคงมีอยู่ จากสภาพปัญหามาลาเรียในพื้นที่ตำบลบาโร๊ะ นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2562 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2562 ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำตำบลบาโร๊ะได้รับรายงานผู้ป่วยโรค Malaria จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโร๊ะ จำนวนทั้งสิ้น 10 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 108.82 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต การระบาดมากในเขตพื้นที่หมู่ 8 บ้านบาโย คิดเป็น 341.69 ต่อแสนประชากร พื้นที่ หมู่ 7 บ้านเตียง คิดเป็น 251.89 ต่อแสนประชากร และพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านซีเซ๊ะ คิดเป็น 192.68 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ ประกอบกับพื้นที่ หมู่ 5 บ้านซีเซ๊ะ และหมู่ 6 บ้านกูวิง เป็นพื้นที่สีแดง(A1) ที่ยังต้องมีการควบคุมโรคอยู่ตลอด ในปีที่ผ่านมาพบผู้ป่วยกระจายอยู่ในพื้นที่ทั่วตำบลบาโร๊ะ เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีทำสวนยางพารา ทำให้มีจากเคลื่อนย้ายอยู่ตลอดเวลา และบางชุมชนยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องไข้มาลาเรียนักทำให้ชุมชนไม่เกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมไข้มาลาเรีย
พนักงานมาลาเรียและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีจึงความจำเป็นในการดูแลประชาชนในเขตรับผิดชอบในการป้องกันให้ประชาชนให้ห่างการป่วยด้วยโรคไข้มาเลเรีย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้องค์กรในชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคไข้มาลาเรีย

 

0.00
2 เพื่อลดอัตราป่วยของโรคไข้มาลาเรียไม่เกิน 400 ต่อแสนประชากร

 

0.00
3 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ A1,A2 ได้รับการเจาะคัดกรองหาเชื้อ ไม่น้อยกว่า 80%

 

0.00
4 เพื่อให้ทุกหลังคาเรือนในพื้นที่ A1 ได้รับการพ่นสารเคมีตกค้าง ไม่น้อยกว่า 80%

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 0.00 0 0.00
1 ก.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ป้องกันโรคไข้มาลาเรีย 0 0.00 -
1 ก.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 เจาะเลือด/พ่นสารเคมีตกค้าง ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย 0 0.00 -
  1. ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ป้องกันโรคไข้มาลาเรีย
  2. เจาะเลือด/พ่นสารเคมีตกค้าง ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. องค์กรในชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคไข้มาลาเรีย
  2. อัตราป่วยของโรคไข้มาลาเรียไม่เกิน 400 ต่อแสนประชากร
  3. ประชาชนในพื้นที่ A1,A2 ได้รับการเจาะคัดกรองหาเชื้อ ไม่น้อยกว่า 80%
  4. หลังคาเรือนในพื้นที่ A1 ได้รับการพ่นสารเคมีตกค้าง ไม่น้อยกว่า 80%
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 ม.ค. 2563 14:17 น.