กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการแรงงานประมงสุขใจ ดูแลสุขภาพได้ ก่อนออกทะเล เทศบาลตำบลหนองจิก (ปีที่ 2 )
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข
วันที่อนุมัติ 13 มกราคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2563 - 30 มิถุนายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 31 กรกฎาคม 2563
งบประมาณ 32,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข
พี่เลี้ยงโครงการ พรศิริ ขันติกุลานนท์
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานแรงงานนอกระบบ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ
30.00
2 จำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ (คน)
5.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้กลุ่มชาวประมงในพื้น ตระหนักถึงปัญหาของสุขภาพและสามารถตรวจสุขภาพตัวเองได้

การตรวจสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง

0.00
2 เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ

ร้อยละของแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ ลดลง

30.00
3 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่

จำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ เพิ่มขึ้น(คน)

5.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 95 32,000.00 4 30,400.00
15 ก.ค. 62 กิจกรรมวิเคราะห์ปัญหา(จัดทำแบบประเมินปัญหาความเสี่ยง) 30 8,400.00 7,800.00
16 ก.ค. 62 อบรมให้ความรู้หลังจากการวิเคราะห์ปัญหา 30 14,000.00 7,800.00
29 ต.ค. 62 กิจกรรมถอดบทเรียน 30 9,600.00 7,000.00
9 ก.ค. 63 อบรมอสอช. 5 0.00 7,800.00

1.รายงานผู้บริหาร เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพและความต้องการของประชาชน 2.เสนอโครงการ โครงการชาวประมงกับการแก้ปัญหาด้านสุขภาพ 3.ประชุมปรึกษาหารือการจัดกิจกรรมในโครงการฯ

3.1สำรวจข้อมูลและจัดทำทะเบียนประวัติ /จัดทำแบบประเมินปัญหาความเสี่ยง อันตรายจากการทำงานของกลุ่มประมงพื้นบ้านโดยใช้เครื่องมือการวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบตามหลักสูตรการพัฒนาแกนนำอาสาสมัครอาชีวอนามัยในระดับชุมชนท้องถิ่น ที่จัดทำโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แสงอรุณ อิสระมาลัย และอาจารย์กนกวรรณ หวนศรีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

3.2คัดกรอง /ตรวจสุขภาพ โดยการเจาะเลือด เพื่อหาสารตะกั่วตกค้างในเลือด โดยศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12 สงขลา และรพ.สต.ในพื้นที่ 3.๓ให้บริการตรวจวัดสายตา เพื่อหาผู้ที่มีปัญหาทางสายตา ในการประกอบอาชีพ 3.๔อบรมให้ความรู้ และการป้องกัน พิษภัยของสารตะกั่ว ซึ่งเป็นส่วนผสมของสีทาเรือโดยศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12 สงขลา และรพ.สต.ในพื้นที่

3.4จัดทำแผนป้องกันตนเองของชุมชนโดยการเผยแพร่ รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ -การใช้อุปกรณ์ป้องกันในระดับบุคคลเช่น การสวมผ้าปิดจมูก ถุงมือ เสื้อแขนยาวฯ -จัดทำข้อตกลงของชุมชน ในการจัดการขยะประเภทถังสีและขยะประเภทอื่นๆใน ชุมชน เพื่อลดสารตะกั่วลงสู่ชั้นผิวดิน แหล่งน้ำ สัตว์น้ำในพื้นที่ -ติดตามและประเมินผล กลุ่มเป้าหมายที่รับการเจาะเลือด เพื่อดูความเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย ระยะเวลา.....6..........เดือน และการนำข้อตกลงไปสู่การปฎิบัติในการจัดการสิ่งแวดล้อม

3.5ถอดทบเรียนจากการดำเนินงาน และมอบแว่นตาแก่ผู้ที่มีปัญหาด้านสายตา ในการประกอบอาชีพต่อไป

4.ดำเนินงานตามกิจกรรมที่กำหนดและประชาสัมพันธ์โครงการฯ
๕. สรุปผลการดำเนินงานและนำเสนอผู้บริหาร

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มประมงพื้นบ้าน ที่ทำงานซ่อม/สร้างเรือ ได้รับการคัดกรอง/ตรวจสุขภาพ
2.กลุ่มประมงพื้นบ้านมีความรู้ ความเข้าใจพิษภัยของสารตะกั่ว 3.กลุ่มประมงพื้นบ้าน เกิดความตระหนักในการป้องกันตนเอง เพื่อลดความเสี่ยง อันตรายจากการทำงาน 4.เกิดการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ในระดับชุมชนเพื่อลดสารตะกั่วในพื้นที่

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 ม.ค. 2563 14:39 น.