กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์


“ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ”

ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุสมีณี ดอเลาะ

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ที่อยู่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 3/2563 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 มกราคม 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 3/2563 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 มกราคม 2563 - 30 มิถุนายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 93,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันพบว่าอัตราการป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกของสตรีเพิ่มขึ้นรวดเร็วมาก ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลกระบุว่า ในทุกปีจะพบผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งปากมดลูกรายใหม่มากกว่า 500,000 ราย และครึ่งหนึ่งในจำนวนนั้นจะเสียชีวิต ในประเทศไทยพบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ 10,000 รายต่อปี และมีผู้เสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกเฉลี่ย 5,000 รายต่อปี ซึ่งโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นปัญหาที่คุกคามสตรี เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เพราะทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกสามารถตรวจค้นพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติ และสามารถรักษาให้หายขาดได้หากตรวจพบตั้งแต่ระยะเริ่มต้น ปัจจุบันการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก คือ การตรวจคัดกรองเพื่อหาเชื้อมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธีการตรวจ Pap smear ซึ่งเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม และจากการศึกษาขององศ์การอนามัยโลก ได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำ Pap smear ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้สูงมาก ในปีงบประมาณ 2563 กระทรวงสาธารณสุขกำหนดตัวชี้วัดในการตรวจคัดกรองสตรีอายุ 30 – 60 ปีปีละ 20 % ดังนั้น กลุ่มเป้าหมายทั้งหมดในปี 2563 ทั้งหมด จำนวน 1,447 คน ( ต้องได้รับการตรวจคัดกรอง 20% ) คือ จะต้องได้รับการตรวจคัดกรอง ทั้งสิ้นจำนวน 300 คน
      โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่กลุ่มสตรีดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม โดยการค้นหาผู้ป่วยเพื่อให้การรักษา และส่งต่อได้อย่างทันท่วงที และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ประชาชนมีสุขภาพดี ส่งผลต่อการมีสุขภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80
  2. สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20
  3. เพื่อลดอัตราการป่วย/ตาย ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกโรคมะเร็งเต้านม
  4. สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม ที่ 1 จัดประชุมชี้แจงโครงการแก่อาสาสมัครพลังชุมชนต้านภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เพื่อสร้างความตระหนักชักชวนให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจ
  2. กิจกรรม ที่ 2 จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.5 X 2.4 เมตร (ตร.เมตรละ 250 บาท) เชิญชวนเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  3. กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมเชิงปฎิบัติการแก่กลุ่มเป้าหมายหญิงวัยเจริญพันธ์ุ/วัยทำงาน ให้ความรู้เรื่อง มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จำนวน 300 คน โดยแบ่งเป็น 5 รุ่นๆละ 60 คน เป็นเวลา 5 วัน
  4. กิจกรรมที่ 4 เจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้บริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพทุกอังคารและวันศุกร์ ออกตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในชุมชนตามแผนปฏิบัติงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ไม่พบผู้ป่วยเป็นโรคมะเร็งปากมดลูกในปี 2562
  2. ประชาชน ชุมชนตระหนักถึงการดูแลสุขภาพด้วยการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกก่อนเจ็บป่วย
  3. ประชาชนกลุ่มวัยทำงานมีสุขภาพที่ดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมเชิงปฎิบัติการแก่กลุ่มเป้าหมายหญิงวัยเจริญพันธ์ุ/วัยทำงาน ให้ความรู้เรื่อง มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จำนวน 300 คน โดยแบ่งเป็น 5 รุ่นๆละ 60 คน เป็นเวลา 5 วัน

วันที่ 6 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมเชิงปฎิบัติการแก่กลุ่มเป้าหมายหญิงวัยเจริญพันธ์ุ/วัยทำงาน ให้ความรู้เรื่อง มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จำนวน  300 คน โดยแบ่งเป็น 5 รุ่นๆละ 60  คน เป็นเวลา  5  วัน ในวันที่ 2-6 มีนาคม 2653 - ค่าอาหารกลางวัน                จำนวน 300 คน x 50 บาท                เป็นเงิน  15,000  บาท                                        - อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม      จำนวน 300 คน x 25 บาท  x 2  มื้อ    เป็นเงิน  15,000  บาท   - ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน x 2 ชั่วโมง x 300 บาท x 5 วัน        เป็นเงิน  3,000  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ วัยทำงาน ได้รับความรู้ในเรื่องการดูแลตนเอง

 

300 0

2. กิจกรรม ที่ 2 จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.5 X 2.4 เมตร (ตร.เมตรละ 250 บาท) เชิญชวนเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

วันที่ 30 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.5 X 2.4 เมตร (ตร.เมตรละ 250 บาท)  เชิญชวนเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม - 30 มิถุนายน 2563 ค่าจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ โครงการ ฯ จำนวน  5  แผ่นๆละ 900 บาท เป็นเงิน  4,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อช่วยลดอัตราการป่วย ตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม

 

0 0

3. กิจกรรมที่ 4 เจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้บริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพทุกอังคารและวันศุกร์ ออกตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในชุมชนตามแผนปฏิบัติงาน

วันที่ 30 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้บริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพทุกอังคารและวันศุกร์ ออกตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในชุมชนตามแผนปฏิบัติงาน ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม - 30 มิถุนายน 2563 - จัดซื้อผ้าถุงสำหรับเปลี่ยนในการรับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกจำนวน  300 ผืนๆละ 150 บาทเป็นเงิน  45,000    บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อความสะดวกในการดำเนินโครงการ

 

300 0

4. กิจกรรม ที่ 1 จัดประชุมชี้แจงโครงการแก่อาสาสมัครพลังชุมชนต้านภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เพื่อสร้างความตระหนักชักชวนให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจ

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมจัดประชุมชีแจงโครงการแก่อาสาสมัครพลังชุมชนต้านมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เพื่อสร้างความตระหนักชักชวนให้กลุ่มสตรีกลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจในวันที่ 31 มีนาคม 2563           - ค่าอาหารกลางวัน                          จำนวน 60 คน x 50 บาท           เป็นเงิน  3,000  บาท           - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม    จำนวน 60 คน x 25 บาท x 2 มื้อ          เป็นเงิน  3,000  บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์เอกสารที่ใช้ในการประชุม                                          เป็นเงิน  4,500 บาท - ค่าจัดทำป้ายไวนิลโครงการ ฯ ขนาด 1.25 X 2.4 เมตร (ตร.เมตรละ 250 บาท)  จำนวน  1  ผืน                                                                                                                        เป็นเงิน    750 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงความเสี่ยงของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อลดอัตราการป่วย/ตาย ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกโรคมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80 (2) สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20 (3) เพื่อลดอัตราการป่วย/ตาย ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกโรคมะเร็งเต้านม (4) สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม ที่ 1 จัดประชุมชี้แจงโครงการแก่อาสาสมัครพลังชุมชนต้านภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เพื่อสร้างความตระหนักชักชวนให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจ (2) กิจกรรม ที่ 2 จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.5 X 2.4 เมตร (ตร.เมตรละ 250 บาท)  เชิญชวนเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (3) กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมเชิงปฎิบัติการแก่กลุ่มเป้าหมายหญิงวัยเจริญพันธ์ุ/วัยทำงาน ให้ความรู้เรื่อง มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จำนวน  300 คน โดยแบ่งเป็น 5 รุ่นๆละ 60  คน เป็นเวลา  5  วัน (4) กิจกรรมที่ 4 เจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้บริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพทุกอังคารและวันศุกร์ ออกตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในชุมชนตามแผนปฏิบัติงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 3/2563

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรุสมีณี ดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด