กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจ เครือข่ายร่วมสร้าง RDU คู่ร้านชำคุณภาพตำบลตะโละกาโปร์
รหัสโครงการ 4/2563
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์
วันที่อนุมัติ 8 มกราคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 8 มกราคม 2563 - 30 มิถุนายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 33,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวซูไฮลา เจะบาการ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.872,101.43place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 8 ม.ค. 2563 30 มิ.ย. 2563 33,300.00
รวมงบประมาณ 33,300.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำและประชาชนมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
  1. มีร้านชำคุณภาพ 1 หมู่บ้าน 1 ร้านชำคุณภาพ
0.00
2 เพื่อพัฒนาร้านชำในชุมชน ให้มีคุณภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
  1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคและ RDU มากกว่าร้อยละ 70 ของแบบทดสอบ
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 150 33,300.00 5 33,300.00
8 ม.ค. 63 - 30 มิ.ย. 63 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมโยงร้านชำคุณภาพ รวมถึงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล แก่ผู้ประกอบการร้านชำ , อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน,ครู, ตัวแทนนักเรียน อย.น้อย , ตัวแทนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 70 คน 70 13,550.00 13,550.00
8 ม.ค. 63 - 30 มิ.ย. 63 2. พัฒนาร้านชำต้นแบบ ตามเกณฑ์คุณภาพ 0 3,750.00 3,750.00
8 ม.ค. 63 - 30 มิ.ย. 63 3. ลงพื้นที่สำรวจเฝ้าระวัง การขายยาอันตรายในร้านชำ/สุ่มเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 1 โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารสุข 10 5,000.00 5,000.00
8 ม.ค. 63 - 30 มิ.ย. 63 4. ลงพื้นที่สำรวจเฝ้าระวัง การขายยาอันตรายในร้านชำ/สุ่มเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ครั้งที่ 2 โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารสุข 10 5,000.00 5,000.00
8 ม.ค. 63 - 30 มิ.ย. 63 5. คืนข้อมูลผลการดำเนินงานแก่เครือข่ายในชุมชน แก่ ตัวแทนอาสาสมัครสาธารณสุข/ตัวแทนร้านชำ 60 6,000.00 6,000.00

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมโยงร้านชำคุณภาพ รวมถึงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลแก่ผู้ประกอบการร้านชำ,อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน,ครู, ตัวแทนนักเรียน อย.น้อย , ตัวแทนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เป็นต้น
1. พัฒนาร้านชำในตำบลให้เป็น “ร้านชำคุณภาพ” ตามเกณฑ์ และคัดเลือกร้านชำแต่ละหมู่บ้านเป็นต้นแบบหมู่ละ 1 แห่ง
2. ลงพื้นที่สำรวจ เฝ้าระวัง การขายยาอันตรายในร้านชำทั้งหมด ครั้งที่ 1 พร้อมให้ความรู้ RDU และประเมินตามเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ 3. ติดตามการดำเนินงานของร้านชำต้นแบบ อย่างใกล้ชิด
4. สุ่มเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง อย่างน้อย 10 ราย เพื่อค้นหาติดตามการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัย
5. ติดตาม เฝ้าระวัง การขายยาอันตรายในร้านชำทั้งหมด ครั้งที่ 2 6. สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจสเตียรอยด์ในยาชุด/อาหารเสริม เดือนละ 1 ครั้ง 7. สรุปผลการตรวจ เฝ้าระวัง ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนทั้งจากร้านชำและบ้านผู้ป่วย พร้อมประเมินความเสี่ยงภาพรวมของตำบล 8. คืนข้อมูลผลการดำเนินงานแก่เครือข่ายในชุมชน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ประกอบการและประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับองค์ความรู้ด้านคุ้มครองผู้บริโภค
  2. ร้านชำในตำบลมีคุณภาพปลอดยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 ม.ค. 2563 15:06 น.