โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม ”
ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายมิตรชา โต๊ะลาตี,นายหมัด ไมมะหาด,นายพิเชญฐ์ นราจร , นายสุนัน เจะสา, นายนพดล ยันตาภรณ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน
เมษายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม
ที่อยู่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L5294-2-01 เลขที่ข้อตกลง 03/63
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 เมษายน 2563 ถึง 2 เมษายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5294-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 เมษายน 2563 - 2 เมษายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องด้วยบทบัญญัติของศาสนาอิสลามกำหนดให้ยุวชนมุสลิมชายทุกคนจะต้องเข้าพิธีสุนัตโดยพิธีเข้าสุนัตหมู่ของเด็กไทยมุสลิม ซึ่งภาษาอาหรับ เรียกว่า คีตาน ภาษามาลายู เรียก มาโซ๊ะยาวี ส่วนคนไทย โดยทั่วไป เรียกว่า พิธีเข้าสุนัต ซึ่งทั้งสามคำนี้ มีความหมายเดียวกัน คือ การขลิบปลายอวัยวะเพศ ของเด็กไทยมุสลิม ทั้งชายและหญิง เมื่อย่างเข้าวัยอันควร คือ อายุระหว่าง๘ - ๑๒ปี
" พิธีเข้าสุนัต "ถือเป็นส่วนหนึ่งของความดีต่างๆ ตามบทบัญญัติอิสลามที่ " อัลลอฮ " ทรงบัญญัติแก่ปวงบ่าวของพระองค์ และทำให้ความดีต่างๆ ของพวกเขาทั้งภายนอกและภายในมีความสมบูรณ์ เนื่องจากเป็นการชำระความสกปรกสร้างความสะอาดสร้างบุคลิกที่สร้างอารมณ์ทางเพศที่พอดี
ดังนั้น เมื่อถึงวัยดังกล่าวผู้เป็นบิดามารดา หรือผู้ปกครองจึงจำเป็นที่จะต้องมีพิธีเข้าสุนัตให้กับ ยุวชนมุสลิมชาย แต่เนื่องจากในสภาวการณ์ทางด้านเศรษฐกิจในปัจจุบัน มีความจำเป็นจะต้องใช้มาตรการประหยัด เพื่อความอยู่รอด และจากอดีตที่ผ่านมา ปัญหาการเข้าสุนัตที่ทำกันอยู่ในชุมช ส่วนใหญ่มักจะพบว่า มีการติดเชื้อค่อนข้างมาก สาเหตุประการหนึ่งมาจากเครื่องมือ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการทำสุนัตไม่สะอาดเพียงพอ และเด็กหรือผู้ปกครองบางส่วนไม่มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพตนเอง
จากหลักการและปัญหาดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมการมัสยิดบ้านวังตง ได้ตระหนักถึงการเข้าไปมีส่วนร่วม การสืบทอดประเพณีทางศาสนาที่มีขึ้นมาอย่างยาวนาน และเป็นบทบัญญัติอิสลาม จึงได้จัดทำโครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมขึ้นเพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางศาสนาต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิม ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะออกเลือดมาก (bleeding)
- ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
- ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม ให้ความรู้การดูแลสุขภาพ
- กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
25
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการทำสุนัต (ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) สามารถลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด (bleeding) ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง) และการติดเชื้อ รวมทั้งสร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครอง ชุมชนในการป้องกันโรคติดเชื้อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิม ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะออกเลือดมาก (bleeding)
ตัวชี้วัด : ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะออกเลือดมาก (bleeding)
0.00
2
ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
ตัวชี้วัด : เข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
0.00
3
ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : เข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
25
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
25
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิม ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะออกเลือดมาก (bleeding) (2) ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม ให้ความรู้การดูแลสุขภาพ (2) กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L5294-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมิตรชา โต๊ะลาตี,นายหมัด ไมมะหาด,นายพิเชญฐ์ นราจร , นายสุนัน เจะสา, นายนพดล ยันตาภรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม ”
ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายมิตรชา โต๊ะลาตี,นายหมัด ไมมะหาด,นายพิเชญฐ์ นราจร , นายสุนัน เจะสา, นายนพดล ยันตาภรณ์
เมษายน 2563
ที่อยู่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L5294-2-01 เลขที่ข้อตกลง 03/63
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 เมษายน 2563 ถึง 2 เมษายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5294-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 เมษายน 2563 - 2 เมษายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องด้วยบทบัญญัติของศาสนาอิสลามกำหนดให้ยุวชนมุสลิมชายทุกคนจะต้องเข้าพิธีสุนัตโดยพิธีเข้าสุนัตหมู่ของเด็กไทยมุสลิม ซึ่งภาษาอาหรับ เรียกว่า คีตาน ภาษามาลายู เรียก มาโซ๊ะยาวี ส่วนคนไทย โดยทั่วไป เรียกว่า พิธีเข้าสุนัต ซึ่งทั้งสามคำนี้ มีความหมายเดียวกัน คือ การขลิบปลายอวัยวะเพศ ของเด็กไทยมุสลิม ทั้งชายและหญิง เมื่อย่างเข้าวัยอันควร คือ อายุระหว่าง๘ - ๑๒ปี
" พิธีเข้าสุนัต "ถือเป็นส่วนหนึ่งของความดีต่างๆ ตามบทบัญญัติอิสลามที่ " อัลลอฮ " ทรงบัญญัติแก่ปวงบ่าวของพระองค์ และทำให้ความดีต่างๆ ของพวกเขาทั้งภายนอกและภายในมีความสมบูรณ์ เนื่องจากเป็นการชำระความสกปรกสร้างความสะอาดสร้างบุคลิกที่สร้างอารมณ์ทางเพศที่พอดี
ดังนั้น เมื่อถึงวัยดังกล่าวผู้เป็นบิดามารดา หรือผู้ปกครองจึงจำเป็นที่จะต้องมีพิธีเข้าสุนัตให้กับ ยุวชนมุสลิมชาย แต่เนื่องจากในสภาวการณ์ทางด้านเศรษฐกิจในปัจจุบัน มีความจำเป็นจะต้องใช้มาตรการประหยัด เพื่อความอยู่รอด และจากอดีตที่ผ่านมา ปัญหาการเข้าสุนัตที่ทำกันอยู่ในชุมช ส่วนใหญ่มักจะพบว่า มีการติดเชื้อค่อนข้างมาก สาเหตุประการหนึ่งมาจากเครื่องมือ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการทำสุนัตไม่สะอาดเพียงพอ และเด็กหรือผู้ปกครองบางส่วนไม่มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพตนเอง
จากหลักการและปัญหาดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมการมัสยิดบ้านวังตง ได้ตระหนักถึงการเข้าไปมีส่วนร่วม การสืบทอดประเพณีทางศาสนาที่มีขึ้นมาอย่างยาวนาน และเป็นบทบัญญัติอิสลาม จึงได้จัดทำโครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมขึ้นเพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางศาสนาต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิม ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะออกเลือดมาก (bleeding)
- ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
- ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม ให้ความรู้การดูแลสุขภาพ
- กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 25 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการทำสุนัต (ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) สามารถลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด (bleeding) ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง) และการติดเชื้อ รวมทั้งสร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครอง ชุมชนในการป้องกันโรคติดเชื้อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิม ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะออกเลือดมาก (bleeding) ตัวชี้วัด : ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะออกเลือดมาก (bleeding) |
0.00 |
|
||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ ตัวชี้วัด : เข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ |
0.00 |
|
||
3 | ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค ตัวชี้วัด : เข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 25 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 25 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิม ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะออกเลือดมาก (bleeding) (2) ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม ให้ความรู้การดูแลสุขภาพ (2) กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L5294-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมิตรชา โต๊ะลาตี,นายหมัด ไมมะหาด,นายพิเชญฐ์ นราจร , นายสุนัน เจะสา, นายนพดล ยันตาภรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......