กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล


“ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ เรียนรู้ใส่ใจสุขภาพ (เพื่อนเตือนเพื่อน) ประจำปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนเตรียมศึกษาวิทยา

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ เรียนรู้ใส่ใจสุขภาพ (เพื่อนเตือนเพื่อน) ประจำปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3018-02-8 เลขที่ข้อตกลง 3/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 มกราคม 2563 ถึง 16 มกราคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ เรียนรู้ใส่ใจสุขภาพ (เพื่อนเตือนเพื่อน) ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ เรียนรู้ใส่ใจสุขภาพ (เพื่อนเตือนเพื่อน) ประจำปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ เรียนรู้ใส่ใจสุขภาพ (เพื่อนเตือนเพื่อน) ประจำปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3018-02-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 มกราคม 2563 - 16 มกราคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโรค และประเทศไทยมีเป้าหมายในการพัฒนาระบบสุขภาพ เป้าหมายสูงสุดของการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค คือ "การที่ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อม และสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา" การเปลี่ยนแปลงภายใต้ยุคโลกาภิวัตน์ ส่งผลต่อสภาพสังคม และชีวิตของคนไทยในปัจจุบันและอนาคตหลายประการ ในภาคสังคมวิถีชีวิตอุบัติใหม่ที่เป็นผลจากการพัฒนาที่ผ่านมา กำลังส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไป ตั้งแต่ระดับครอบครัวจนถึงระดับสังคมใหญ่ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น วิถีชีวิตอุบัติใหม่มีผลทำให้ครอบครัวในสังคมเมืองเปลี่ยนไป
  อย่างไรก็ดี การที่จะทำให้ประชาชนลุกขึ้นมาทำด้วยตนเองเป็นเรื่องยาก ต้องอาศัยการศึกษาและการเสริมเติมเต็มพลังปัญญาแก่ประชาชน และเยาวชน ซึ่งที่ผ่านมาในหมู่บ้าน/ชุมชน มี ประชาชนที่มีจิตอาสาเข้ามาดูแลสุขภาพของครอบครัว ชุมชน คือ อสม. แต่ก็ยังมีปัญหา ข้อจำกัดหลายประการที่ทำให้ อสม.ไม่สามารถดูแลสุขภาพเพื่อนบ้านในชุมชน ได้อย่างทั่วถึงและเพื่อเป็นการสร้างคนรุ่นใหม่ให้สามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อม และสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ทางโรงเรียนเตรียมศึกษาวิทยา จึงได้จัดทำ "โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ เรียนรู้ ใส่ใจสุขภาพ (เพื่อนเตือนเพื่อ)" ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างผู้นำนักเรียนให้มีความรู้ มีกระบวนการคิด มีทักษะทางด้านการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและเป็นประโยชน์ต่อตนเอง เพื่อนนักเรียนครอบครัวและชุมชน
  2. 2. เพื่อให้ผู้นำนักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถช่วยเหลือ ร่วมมือกัน ดูแลทางด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่ตนเอง เพื่อนักเรียน ครับครอบ และชุมชนต่อไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เกิดภาวะผู้นำนักเรียน เยาวชน ได้มีความรู้ มีกระบวนการคิด มีทักษะทางด้านการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและเป็นประโยชน์ต่อตนเอง เพื่อนนักเรียนครอบครัวและชุมชน 2.ผู้นำนักเรียน และเยาวชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถช่วยเหลือ ร่วมมือกัน ดูแลทางด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่ตนเอง เพื่อนักเรียน ครับครอบ และชุมชนต่อไป


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ระยะก่อนดำเนินโครงการ   ก่อนดำเนินโครงการทางทีมงานได้จัดตั้งคณะทำงานแบ่งออกเป็นฝ่ายๆและประชุมร่วมคณะกรรมการที่ปรึกษา เพื่อดำเนินการเตรียมการในการจัดการแข่งขัน โดยมีการเตรียมการและวางแผนงานร่วมกันเป็นระยะๆด้วยการจัดพบปะเชิงประชุมกัน เป็นการประชุมร่วมกันระหว่างทีมคณะทำงานและทีมงานที่ปรึกษา จนสุดท้ายได้ออกแบบและเตรียมการ ระยะดำเนินโครงการ     กิจกรรมที่เกิดขึ้นเป็นผลการดำเนินงานจากกระบวนการแบบมีส่วนร่วมจากหลายๆฝ่าย โดยคณะทำงานได้ดำเนินโครงการจัดอบรมให้ความรู้ เรื่องเยาวชนรุ่นใหม่ เรียนรู้และต้องใส่ใจสุขภาพ(เพื่อนเตือนเพื่อน)ตลอดจนการจัดนิทรรศการ และเดินรณรงค์ในชุมชนบริเวณใกล้เคียงโรงเรียนเพื่อให้ชุมชนได้รับทราบข้อมูลข่าวสารอย่างทั่วถึง และมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสุขภาพ ระยะหลังการดำเนินโครงการ     1. บุคลากรครูโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความสนใจเป็นอย่างมาก และอยากให้มีการจัดโครงการลักษณะนี้อีกต่อไป ให้เป็นช่วงๆตามเทศการที่เหมาะสม และให้มีการออกแบบการดูแลสุขภาพร่วมกัน     2. ชุมชนในละแวกใกล้เคียงเกิดความพอใจกับการจัดกิจกรรมลักณะนี้มาก และอยากให้ขยายให้มีการเดินรณรงค์ที่กว้างมากขึ้น     3. เกิดภาวะผู้นำนักเรียนที่มีความรุ้ มีกระบวนการคิด มีทักษะทางด้านการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง และเป็นประโยชน์ต่อตนเอง เพื่อนนักเรียนครอบครัวและชุมชน และเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมโดยเป็นเครือข่ายกัน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อสร้างผู้นำนักเรียนให้มีความรู้ มีกระบวนการคิด มีทักษะทางด้านการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและเป็นประโยชน์ต่อตนเอง เพื่อนนักเรียนครอบครัวและชุมชน
    ตัวชี้วัด :
    0.00 0.00

     

    2 2. เพื่อให้ผู้นำนักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถช่วยเหลือ ร่วมมือกัน ดูแลทางด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่ตนเอง เพื่อนักเรียน ครับครอบ และชุมชนต่อไป
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างผู้นำนักเรียนให้มีความรู้ มีกระบวนการคิด มีทักษะทางด้านการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและเป็นประโยชน์ต่อตนเอง เพื่อนนักเรียนครอบครัวและชุมชน (2) 2. เพื่อให้ผู้นำนักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถช่วยเหลือ ร่วมมือกัน ดูแลทางด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่ตนเอง เพื่อนักเรียน ครับครอบ และชุมชนต่อไป

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ เรียนรู้ใส่ใจสุขภาพ (เพื่อนเตือนเพื่อน) ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 63-L3018-02-8

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงเรียนเตรียมศึกษาวิทยา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด