กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.การประเมินผลการดูแลตนเอง โดยใช้แบบประเมิน แบบสำรวจการปรับพฤติกรรมในการดูแลตนเองเพื่อการดูแลตนเองโรค่ข้อเข่าเสื่อม เพื่อการประเมินว่าผู้สูงอายุสามารถปรับพฤติกรรมในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้หรือไม่ ผลการสำรวจการปรับพฤติกรรมในการดูแลตนเองเพื่อการดูแลโรคข้อเข่าเสื่อม ดังนี้
1)การลดน้ำหนัก ผู้สูงอายุมีภาวะอ้วน ไม่สามารถลดน้ำหนักได้ จำนวน 3 คน 2)การนั่งบนเก้าอี้สูงระดับเข่า ไม่นั่งพับเพียบ นั่งขัดสมาธิ นั่งคุกเข่า นั่งยองๆ หรือนั่งบนพื้นราบ  ผู้สูงอายุสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ จำนวน 27 คน ยังไม่ปรับพฤติกรรม จำนวน 3 คน 3)เข้าห้องน้ำ นั่งถ่ายบนโถห้อยขา ไม่นั่งยองๆ มีผู้สูงอายุ 1 คนที่ใช้ส้วมนั่งยอง ใช้ส้วมห้อยเท้า จำนวน 29 คน 4)นอนเตียงที่มีความสูงระดับเข่า ห้อยขาแล้วเท้าแตะพื้นพอดี ไม่นอนราบบนพื้นทุกคน 5)การหลีกเลี่ยงการขึ้นลงบันได ผู้สูงอายุที่ต้องขั้นลงบันได มีจำนวน 1 คน ไม่ต้องขึ้นลงบันได จำนวน 29 คน 6)หลีกเลี่ยงการยืน หรือนั่งในท่าเดียวกันนานๆ ผู้สูงอายุทุกคนสามารถปฏิบัติได้ 7)การยืน ควรยืนตรงขากางออกเล็กน้อย ไม่ควรยืนเอียง น้ำหนักตัวลงข้างใดข้างหนึ่ง 8)การเดิน ควรเดินบนพื้นราบ ไม่เดินบนทางลาดเอียงที่ชันมาก ทางขรุขระ ผู้สูงอายุสามารถปฏิบัติได้จำนวน 29 คน ไม่สามารถปฏิบัติได้จำนวน 1 คน 9)ใ่ส่รองเท้าส้นเตี้ย สูงไม่เกิน 1 นิ้ว พื้นรองเท้านุ่ม พอควร ขนาดกระชับ ผู้สูงอายุสามารถปฏฺบัติได้ทุกคน 10)ใช้ไม่เท้า เพื่อการรองรับน้ำหนัก ช่วยพยุงตัวเมื่อจะล้ม มีผู้สูงอายุใช้ไม้เท้าทุกครั้ง จำนวน 29 คน ใช้ไม้เท้าบางครั้ง 1 คน 11)การบริหารกล้ามเนื้อรอบข้อเข่าเพื่อลดอาการปวด ผู้สูงอายุที่มีการบริหารกล้ามเนื้อข้อเข้าทุกวัน จำนวน 22 คน บริหารไม่ทุวัน จำนวน 8 คน 12)เมือมีอาการปวด พักการใช้ข้อเข่าประคบความเย็น ประคบร้อน มีการประคบเย็น ประคบร้อน จำนวน 25 คน 2. มีการประเมินผล อาการปวดเข่าของผู้สูงอายุ ตามแบบประเมินความรุนแรงของอาการปวดเข่า ว่าดีขึ้นหรือไม่ จากการประเมินผู้สูงอายุจำนวน 30 คน ผู้สูงอายุมีอาการปวดเข่าดีขึ้น จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 76.66 ผู้สูงอายุได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริหารกล้ามเนื้อข้อเข่าทุกวัน ใช้ส้วมห้อยขา ไม่นั่งพับเพียบ ไม่นั้งขัดสมาชิก นอนบนเตียงห้อยขาเท้าแตะพื้นพอดี หลีกเลี่ยงการขึ้นลงบันได หลีกเลี่ยงการเดินขรุขระ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ระดับความรุนแรงของอาการปวดเข่ายังไม่ดีขึ้นจำนวน 7 คน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 13.34 จากสาเหตุผู้สูงอายุ มีน้ำหนักมาก ไม่ได้มีการบริหารกล้ามเนื้อข้อเข่า อย่างต่อเนื่อง ใช้ส้วมนั่งยอง มีการขึ้นลงบันไดอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh