กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อชีวีมีสุข
รหัสโครงการ 63-L8300-2-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.ตำบลแว้ง
วันที่อนุมัติ 2 มกราคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 9 กันยายน 2563 - 9 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 8 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 12,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมะสูยี มามะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 5.936,101.835place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 9 ก.ย. 2563 9 ก.ย. 2563 12,100.00
รวมงบประมาณ 12,100.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ จะได้เกิดความตระหนักถึงโทษภัยของบุหรี่

1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความต้องการเลิกสูบบุหรี่ร้อยละ 50 2.ผู้สูบบุหรี่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีการสูบในบ้านลดลงร้อยละ 50 3.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้สามารถถ่ายทอดให้คนอื่นได้ร้อยละ60

50.00
2 ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมกลุ่มเสี่ยงไม่เป็นผู้สูบหน้าใหม่

1.ลดกลุ่มเสี่ยงที่จะกลายเป็นนักสูบหน้าใหม่ได้ร้อยละ 50 2.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับบอกต่อไม่ให้มีนักสูบหน้าใหม่ได้ร้อยละ 50
3.สร้างความตระหนักให้นักสูบหน้าใหม่ร้อยละ 50

50.00
3 ข้อที่ 3. เพื่อสร้างแรงจูงใจ ส่งเสริมให้เกิดการ ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่เพื่อสุขภาพที่ดีของตนเองและผู้อยู่ใกล้เคียง

1.ผู้สูบบุหรี่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบไม่สูบในชุมชนร้อยละ 50 2.ผู้ผ่านการอบรมสามารถประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้คนสูบบุหรี่เลิกสูบได้ร้อยละ 50 3.มีกฎเกณฑ์การงดสูบบุหรี่ในที่ชุมชนร้อยละ 50

50.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
9 ก.ย. 63 อบรมโทษของบุหรี่ วิธีการลด ละ เลิก บุหรี่ อัตรายที่จะเกิดต่อคใกล้ชิด มิติด้าศาสนาและบริการคลิินิกเลิกบุหรี่เคลื่อนที่ ให้คำปรึกษา 80 12,100.00 12,100.00
รวม 80 12,100.00 1 12,100.00

1.    เสนอแผนงานเพื่อให้อนุกรรมการกลั่นกรอง
2.    เสนอแผนงาน/โครงการต่อคณะกรรมการกองทุนฯเพื่อขออนุมัติงบประมาณ
3.    วางแผนการดำเนินงานประชาสัมพันธ์โครงการ/เชิญชวนประชาชนทั่วไปเข้าร่วมโครงการฯ
4.    ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5.    จัดอบรมการเกี่ยวกับโทษพิษภัยของบุหรี่ /โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่/กลยุทธ์ในการเลิกบุหรี่/การเข้าระบบการบำบัด เพื่อเลิกบุหรี่     6. ติดตามประเมินผู้เข้าร่วมโครงการ 7.สรุปและรายงานผลการดำเนินงานแก่คณะกรรมการกองทุนฯ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงโทษภัยบุหรี่
  2. ผู้ที่เข้ารับการอบรมกลุ่มเสี่ยงไม่เป็นผู้สูบบุหรี่รายใหม่
  3. ผู้เข้ารับการอบรมมีแรงจูงใจในการ ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่และปรับพฤติกรรม
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ม.ค. 2563 20:40 น.