กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอสม.น้อย
รหัสโครงการ 63-L8300-2-09
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.ตำบลแว้ง
วันที่อนุมัติ 2 มกราคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 31 มีนาคม 2563 - 31 มีนาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 14,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมะสูยี มามะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 5.936,101.835place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานคนพิการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้อสม.น้อยมีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติ ที่ดีต่องานสาธารณสุขมูลฐาน

1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพร้อยละ 80 2.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถให้บริการตรวจสุขภาพ ให้คำปรึกษาเรื่องสุขภาพเบื้องต้นได้ร้อยละ 80 3.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้สามารถถ่ายทอดให้คนอื่นได้ร้อยละ 80

0.00
2 ข้อที่ 2. เพื่อให้อสม.น้อยสามารถปฏิบัติงาน และดําเนินกิจกรรมพัฒนารูปแบบงานสาธารณสุขมูลฐานอย่างมีประสิทธิภาพพร้อมทั้งดูแลตนเอง ครอบครัว และเยาวชนในชุมชน/หมู่บ้าน

1.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถรับเรื่องดูแลและส่งต่อในการรักษาพยาบาล 80 2.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเก็บข้อมูลสุขภาพเบื้องต้นร้อยละ 80
3.สร้างความตระหนักเรื่องการดูแลสุขภาพของผู้เข้ารับการอบรมร้อยละ 80

0.00
3 ข้อที่ 3. เพื่อให้เกิดการบูรณาการร่วมกันในการทำงานของหน่วยงาน กลุ่มองค์กร จิตอาสา ปราชญ์ชาวบ้าน ในการดูแลสุขภาพของคนภายในชุมชน

1สร้างเยาวชนจิตอาสาดูแลผู้ด้อยโอกาสในชุมชนร้อยละ 80 2.ผู้ผ่านการอบรมสามารถประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้คนในชุมชนดูแลสุขภาพได้ร้อยละ 80 3.มีกฎเกณฑ์การช่วยเหลือในชุมชนอย่างเป็นระบบ เช่น นับจากคะแนน ADL สภาพบ้าน ผู้ดูแลร้อยละ 60

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
รวม 0 0.00 0 0.00

1 รวบรวมข้อมูล วางแผน ประสาน อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) แกนนำชุมชน โรงเรียน เพื่อกำหนดกลุ่มเป้าหมายและจำนวนที่ต้องการ
2 นำความคิดเห็นมาประเมินความต้องการเพื่อที่จะจัดทำเขียนโครงการ 3 จัดทำตารางการอบรม กำหนดวัน เวลา และสถานที่ 4 จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์สำหรับการอบรม 5 ดำเนินงานจัดกิจกรรมอบรมตามวัน เวลา สถานที่ที่กำหนด ดังนี้ 5.1 กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติ ที่ดีต่องานสาธารณสุขมูลฐาน วิธีดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง 5.2 กิจกรรมอบรมฐานปฏิบัติการทางการพยาบาลเบื้องต้น 6 จัดสนับสนุนกลุ่มผู้นำเด็กและเยาวชนประชุมประชาคมร่วมกับ อสม. กลุ่มจิตอาสา ปราชญ์ชาวบ้านและ รพ.สต.เพื่อร่วมมือกันวางแผนการจัดการสุขภาพ 7 สนับสนุนกลุ่มผู้นำเด็กและเยาวชนชักชวนนักเรียน อสม. กลุ่มจิตอาสา ออกพื้นที่ในชุมชน รณรงค์ ชักชวนพี่น้องประชาชนปรับปรุงสิ่งแวดล้อมรอบที่อยู่อาศัย โรงเรียน มัสยิดและบริเวณใกล้เคียงเพื่อไม่ให้เอื้อต่อการเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค
8 ประเมินผลโครงการโดยการใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 อสม.น้อยมีความรู ความเขาใจ มีทัศนคติ ที่ดีต่องานสาธารณสุขมูลฐาน 2 อสม.น้อยสามารถปฏิบัติงาน และดําเนินกิจกรรมพัฒนารูปแบบงานสาธารณสุขมูลฐานอยางประสิทธิภาพพรอมทั้งดูแลตนเอง ครอบครัว และเยาวชนในชุมชน/หมูบาน 3 กลุ่มผู้นำเด็กและเยาวชน มีการพัฒนาศักยภาพในการจัดการทางสุขภาพ 4 เกิดการบูรณาการร่วมกันในการทำงานของหน่วยงาน กลุ่มองค์กร จิตอาสา ปราชญ์ชาวบ้าน ในการดูแลสุขภาพของคนภายในชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ม.ค. 2563 21:06 น.