กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ
รหัสโครงการ 63-L8300-2-12
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สภาเด็กและเยาวชนตำบลแว้ง
วันที่อนุมัติ 2 มกราคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 29 กันยายน 2563 - 30 ตุลาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 พฤศจิกายน 2563
งบประมาณ 60,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอาริฟ อูเซ็ง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 5.936,101.835place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 29 ก.ย. 2563 30 ต.ค. 2563 60,000.00
รวมงบประมาณ 60,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด

1.เยาวชนที่เข้ารับการอบรมจะไม่สูบบุหรี่หรือถ้าสูบแล้วจะลด ละ เลิกบุหรี่ร้อยละ 50
2.ผู้เข้ารับการอบรมจะบอกต่อให้คนในครอบครัว ลด ละ เลิก บุหรี่ ร้อยละ 50 3.เยาวชนตำบลแว้งจะเป็นแกนนำในการให้คำแนะนำเพื่อนๆเรื่องยาเสพติด ร้อยละ 80

50.00
2 ข้อที่ 2. เพื่อให้เยาวชนรู้จักการป้องการโรค

1.เยาวชนปลอดจากโรค ความดัน เบาหวานร้อยละ 60 2.ผู้เข้ารับการอบรมเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายและการกินจืดเพื่อดูแลสุขภาพร้อยละ 90 3.เยาวชนหันมาออกกำลังกายร้อยละ 80

60.00
3 ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับอาหารการกิน

1.การเลือกอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
2.เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมการกินที่ถูกต้อง และสามารถช่วยเหลือดูแลทางด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ ร้อยละ 80 3.ลดพฤติกรรมเสี่ยงเรื่องอาหารได้ร้อยละ 80

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 100 60,000.00 1 60,000.00
29 ก.ย. 63 อบรมให้ความรู้ใเรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ,อันตรายจากการใช้สารเสพติด , โรคตอดต่อทางเพศสัมพันธ์ 100 60,000.00 60,000.00
  1. ประชุมคณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชนตำบลแว้งเพื่อเขียนโครงการและเสนอโครงการต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลแว้งเพื่อพิจารณาอนุมัติ
  2. วางแผนกิจกรรมกำหนดเนื้อหาวิชาวิทยากรตาม วัน เวลา สถานที่ ในการจัดโครงการ
  3. ประชาสัมพันธ์โครงการให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ อบต.แว้ง เห็นความสำคัญของกิจกรรมดังกล่าวและเข้าร่วมกิจกรรม
  4. ติดต่อประสานงานเพื่อขอใช้สถานที่และติดต่อวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชานั้นๆ
  5. ดำเนินโครงการตามวัน เวลา ที่กำหนด - กิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพให้เด็กและเยาวชน – กิจกรรมนันทนาการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน 6.ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนในพื้นที่อย่างต่อเนื่องมีการทำ Pre-test Post-test เพื่อประเมินผลก่อนและหลังการเข้ารับการอบรมว่ามีความเข้าใจมากน้อยแค่ไหน 7.สรุปและประเมินผลโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กและเยาวชนทำความดีไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติด
  2. เด็กและเยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรค และสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
  3. เด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องอาหารดีมีประโยชน์
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ม.ค. 2563 21:21 น.