โครงการผู้สูงอายุจิตแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการผู้สูงอายุจิตแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง ”
ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายกอเซ็ง บือราเฮง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุจิตแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง
ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L8300-3-02 เลขที่ข้อตกลง 19
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2563 ถึง 17 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงอายุจิตแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุจิตแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงอายุจิตแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L8300-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2563 - 17 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันอายุขัยของประชากรทั่วโลกเพิ่มขึ้น อายุขัยเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 80 ปี โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมหรือกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ภายในไม่กี่ศตวรรษที่ผ่านมาอายุของคนเราหรือกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ภายในไม่กี่ศตวรรษที่ผ่านมา อายุของคนเราเพิ่มขึ้นสองหรือสามเท่า อันเนื่องมาจากคุณภาพชีวิตของประชาชนที่พัฒนาขึ้นอย่างน่าพอใจ โดยมีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี และวิทยาการทางการแพทย์เป็นเหตุปัจจัยสำคัญอย่างเห็นได้ชัด
อย่างไรก็ตาม คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชากรกลับทำให้เกิดความท้าทายใหม่ๆ ระบบสังคมควรและต้องปรับเปลี่ยนเพิ่มมากขึ้นอัตราการเกิดที่เท่ากับจำนวนที่เพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุในประเทศตะวันตกหลายๆประเทศกลับไม่ก่อให้เกิดความสมดุลของจำนวนประชากรในช่วงวัยต่างๆ แต่อย่างใด นั่นหมายความว่าประชากรในวัยทำงานจะมีจำนวนน้อยลงเรื่อยๆ และจะต้องมีภาระรับผิดชอบประชากรผู้สูงอายุที่มีจำนวนมากขึ้นๆ พันธะหน้าที่ระหว่างกันของประชากรต่างวัยอยู่ในลักษณะที่ไม่สมดุล เสมือนระเบิดเวลาทางสังคมที่ต้องได้รับการปลดชนวนให้ทันเวลา ประชากรในสังคมควรมีชีวิตอันยืนยาวที่มีคุณค่าได้ด้วยความรับผิดชอบต่อตัวเอง โดยมีชุมชนคอยเกื้อหนุนไปด้วยในเวลาเดียวกัน
เนื่องด้วยทุกก้าวในชีวิตประชากรล้วนได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในประเด็นนี้ ตั้งแต่การดำรงชีวิตประจำวันไปจนถึงการสาธารณสุขการดำเนินการจัดการกับการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรผู้สูงอายุได้อย่างก้าวหน้าและมีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญที่กองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุตำบลแว้งได้เล็งเห็นจึงได้เสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับชุมชนองค์การบริหารส่วนตำบลแว้งเพื่อพิจารณาในการจัดโครงการ ผู้สูงอายุจิตแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมการพัฒนาจิตใจผู้สูงอายุ ในด้านสุขภาพ สังคม ภูมิปัญญาและเศรษฐกิจ
- ข้อที่ 2. เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ
- ข้อที่ 3. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- บรรยายให้ความรู้เรื่องสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
480
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สามารถพัฒนาจิตใจผู้สูงอายุ ในด้านสุขภาพ สังคม ภูมิปัญญาและเศรษฐกิจ
- เสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ
- เสริมสร้างให้ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว
- ครอบครัว ชุมชน องค์กรภาครัฐ ได้มีส่วนร่วมและให้ความสำคัญกับผู้สูงอายุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. บรรยายให้ความรู้เรื่องสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจ
วันที่ 17 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ
1.จัดทำโครงการและนำเสนอเพื่อขออนุมัติโครงการ
2.แต่งตั้งคณะกรรมการ มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรม
3. ประชุมคณะทำงานเพื่อร่วมกันกำหนดกรอบกิจกรรมและเตรียมพร้อมรายละเอียดงาน ผู้สูงอายุสุขภาพดีชีวีมีสุข
4. ดำเนินการจัดทำโครงการอบรมให้ความรู้และตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
5.กิจกรรม เรื่องสุขภาพ วัดความดัน, ตรวจสายตา, คัดกรอง, ทันตกรรม, เรื่องสิทธิผู้สูงอายุ บริการเงินกู้ไม่มีดอกเบี้ย, ทำบัตรพิการ ฯลฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ในการจัดโครงการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาจิตใจผู้สูงอายุ ในด้านสุขภาพ สังคม ภูมิปัญญาและเศรษฐกิจ เสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ และเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว
480
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมการพัฒนาจิตใจผู้สูงอายุ ในด้านสุขภาพ สังคม ภูมิปัญญาและเศรษฐกิจ
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุมีพัฒนาการดีขึ้น ในเรื่องเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ
2.ผู้สูงอายุนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปบอกต่อเพื่อนๆ
3.ผู้สูงอายุสามารถดูแลตัวเองเบื้องต้นที่บ้านเองได้ก่อนเข้ารับการรักษาจากสถานพยาบาล
70.00
2
ข้อที่ 2. เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูอายุได้รับอุบัติเหตุในบ้านลดลง เช่น ลื่นล้มในห้องน้ำ ทานยาผิดประเภทหรือผิดเวลา ฯลฯ
2.สามารถทำอาหารเองอย่างง่ายที่เหมาะกับผู้สูงอายุที่บ้านได้
3.ผู้สูงอายุมีสภาพจิตใจดี
70.00
3
ข้อที่ 3. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุมีความรู้เบื้องต้นในการดูแลตนเองและคนในครอบครัว
2.สร้างการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนที่เป็นผู้สูงอายุด้วยกัน
3.ผู้สูงอายุแสดงความรักและเอื้ออาทรต่อกันเมื่อมีความยากลำบาก
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
480
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
480
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมการพัฒนาจิตใจผู้สูงอายุ ในด้านสุขภาพ สังคม ภูมิปัญญาและเศรษฐกิจ (2) ข้อที่ 2. เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ (3) ข้อที่ 3. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บรรยายให้ความรู้เรื่องสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการผู้สูงอายุจิตแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L8300-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายกอเซ็ง บือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการผู้สูงอายุจิตแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง ”
ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายกอเซ็ง บือราเฮง
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L8300-3-02 เลขที่ข้อตกลง 19
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2563 ถึง 17 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงอายุจิตแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุจิตแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงอายุจิตแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L8300-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2563 - 17 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันอายุขัยของประชากรทั่วโลกเพิ่มขึ้น อายุขัยเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 80 ปี โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมหรือกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ภายในไม่กี่ศตวรรษที่ผ่านมาอายุของคนเราหรือกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ภายในไม่กี่ศตวรรษที่ผ่านมา อายุของคนเราเพิ่มขึ้นสองหรือสามเท่า อันเนื่องมาจากคุณภาพชีวิตของประชาชนที่พัฒนาขึ้นอย่างน่าพอใจ โดยมีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี และวิทยาการทางการแพทย์เป็นเหตุปัจจัยสำคัญอย่างเห็นได้ชัด อย่างไรก็ตาม คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชากรกลับทำให้เกิดความท้าทายใหม่ๆ ระบบสังคมควรและต้องปรับเปลี่ยนเพิ่มมากขึ้นอัตราการเกิดที่เท่ากับจำนวนที่เพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุในประเทศตะวันตกหลายๆประเทศกลับไม่ก่อให้เกิดความสมดุลของจำนวนประชากรในช่วงวัยต่างๆ แต่อย่างใด นั่นหมายความว่าประชากรในวัยทำงานจะมีจำนวนน้อยลงเรื่อยๆ และจะต้องมีภาระรับผิดชอบประชากรผู้สูงอายุที่มีจำนวนมากขึ้นๆ พันธะหน้าที่ระหว่างกันของประชากรต่างวัยอยู่ในลักษณะที่ไม่สมดุล เสมือนระเบิดเวลาทางสังคมที่ต้องได้รับการปลดชนวนให้ทันเวลา ประชากรในสังคมควรมีชีวิตอันยืนยาวที่มีคุณค่าได้ด้วยความรับผิดชอบต่อตัวเอง โดยมีชุมชนคอยเกื้อหนุนไปด้วยในเวลาเดียวกัน เนื่องด้วยทุกก้าวในชีวิตประชากรล้วนได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในประเด็นนี้ ตั้งแต่การดำรงชีวิตประจำวันไปจนถึงการสาธารณสุขการดำเนินการจัดการกับการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรผู้สูงอายุได้อย่างก้าวหน้าและมีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญที่กองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุตำบลแว้งได้เล็งเห็นจึงได้เสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับชุมชนองค์การบริหารส่วนตำบลแว้งเพื่อพิจารณาในการจัดโครงการ ผู้สูงอายุจิตแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมการพัฒนาจิตใจผู้สูงอายุ ในด้านสุขภาพ สังคม ภูมิปัญญาและเศรษฐกิจ
- ข้อที่ 2. เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ
- ข้อที่ 3. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- บรรยายให้ความรู้เรื่องสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 480 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สามารถพัฒนาจิตใจผู้สูงอายุ ในด้านสุขภาพ สังคม ภูมิปัญญาและเศรษฐกิจ
- เสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ
- เสริมสร้างให้ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว
- ครอบครัว ชุมชน องค์กรภาครัฐ ได้มีส่วนร่วมและให้ความสำคัญกับผู้สูงอายุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. บรรยายให้ความรู้เรื่องสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจ |
||
วันที่ 17 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ1.จัดทำโครงการและนำเสนอเพื่อขออนุมัติโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในการจัดโครงการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาจิตใจผู้สูงอายุ ในด้านสุขภาพ สังคม ภูมิปัญญาและเศรษฐกิจ เสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ และเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว
|
480 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมการพัฒนาจิตใจผู้สูงอายุ ในด้านสุขภาพ สังคม ภูมิปัญญาและเศรษฐกิจ ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุมีพัฒนาการดีขึ้น ในเรื่องเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ 2.ผู้สูงอายุนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปบอกต่อเพื่อนๆ 3.ผู้สูงอายุสามารถดูแลตัวเองเบื้องต้นที่บ้านเองได้ก่อนเข้ารับการรักษาจากสถานพยาบาล |
70.00 |
|
||
2 | ข้อที่ 2. เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูอายุได้รับอุบัติเหตุในบ้านลดลง เช่น ลื่นล้มในห้องน้ำ ทานยาผิดประเภทหรือผิดเวลา ฯลฯ 2.สามารถทำอาหารเองอย่างง่ายที่เหมาะกับผู้สูงอายุที่บ้านได้ 3.ผู้สูงอายุมีสภาพจิตใจดี |
70.00 |
|
||
3 | ข้อที่ 3. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุมีความรู้เบื้องต้นในการดูแลตนเองและคนในครอบครัว 2.สร้างการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนที่เป็นผู้สูงอายุด้วยกัน 3.ผู้สูงอายุแสดงความรักและเอื้ออาทรต่อกันเมื่อมีความยากลำบาก |
70.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 480 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 480 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมการพัฒนาจิตใจผู้สูงอายุ ในด้านสุขภาพ สังคม ภูมิปัญญาและเศรษฐกิจ (2) ข้อที่ 2. เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ (3) ข้อที่ 3. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บรรยายให้ความรู้เรื่องสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการผู้สูงอายุจิตแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L8300-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายกอเซ็ง บือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......