กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 ข้อที่ 1. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพช่องปากและฟัน ที่ดี ปลอดภัยจากโรคฟันผุและมีฟันผุไม่เกินร้อยละ 50 ใน ปี 2563 โดยมีผู้ปกครอง ครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรวมทั้งชุมชนมีส่วนร่วมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างมีทักษะที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : 1. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลูกามีสุขภาพช่องปากดีขึ้น และเด็กมีฟันผุไม่เกินร้อยละ 45 ของจำนวนเด็กทั้งหมด 2.ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กๆได้อย่างถูกต้อง 3.สามารถสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก
0.00

 

 

 

2 ข้อที่ 2. เด็ก ผู้ปกครอง ครู ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลูการู้คุณค่าของขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมภายในบ้านและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เกิดกลุ่มต้นแบบครอบครัวผู้ปกครองรักษ์สะอาด คัดแยกขยะก่อนทิ้ง ไม่น้อยกว่า 10 หลังคาเรือน
ตัวชี้วัด : 1.เด็ก ครู และผู้ปกครอง ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลูการู้คุณค่าของขยะ 2. เด็ก ครู และผู้ปกครอง ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลูกา สามารถแยกขยะที่นำมาใช้ใหม่ และนำไปขายเพื่อเพิ่มรายได้ ได้อย่างถูกต้อง 3. เกิดครัวเรือนต้นแบบอย่างน้อย 10 ครัวเรือน 4. เกิดครัวเรือนต้นแบบสำหรับศึกษาดูงานของผู้ปครองและผู้ทีสนใจ อย่างน้อย 4 ครัวเรือน
0.00

 

 

 

3 ข้อที่ 3. การส่งเสริมครัวเรือนต้นแบบการปลูกผักใช้เองไม่ใช่สารเคมี “กิจกรรมสุขภาพหนูดี กินผักปลูกเอง ปลอดสารเคมี”
ตัวชี้วัด : 1.เด็กและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการปลุกผักใช่เอง 2..ผู้ปกครองและครุสามารถทำปุ๋ยใช้เองได้ ลดการใช้สารเคมี 3. เกิดครัวเรือนต้นแบบสำหรับศึกษาดูงานของผู้ปครองและผู้ทีสนใจ อย่างน้อย 3 ครัวเรือน 4.สามารถสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพเด็ก
0.00