กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาชี


“ โครงการลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ม.1 ”

ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางดรุณี ประสพสุข

ชื่อโครงการ โครงการลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ม.1

ที่อยู่ ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 63-L4046-2-01

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 15 กรกฎาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ม.1 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาชี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ม.1



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ม.1 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 กุมภาพันธ์ 2563 - 15 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,020.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาชี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาขยะมูลฝอยชุมชนของประเทศไทย นับว่าเป็นปัญหาสำคัญที่อยู่คู่กับสังคมไทยมายาวนานไม่ว่าจะเป็นปริมาณการผลิตขยะที่เพิ่มขึ้น สิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือ ขยะมูลฝอย ย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย ซึ่งปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม และส่งผลกระทบต่อสุขอนามัยของคนในชุมชน ดังนั้นชุมชนจัดเป็นแหล่งสำคัญหนึ่งที่ผลิตของเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม แม้ว่าขยะจากชุมชนหรืออาคารบ้านเรือนจะไม่ใช่ของเสียที่เป็นอันตราย เมื่อเปรียบเทียบกับของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมหรือการเกษตรกรรม แต่ถ้ามีปริมาณมากก็ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนและสิ่งแวดล้อมได้ โดยขยะชุมชนที่เกิดขึ้นสามารถจำแนกตามองค์ประกอบได้ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป โดยขยะแต่ละประเภทจะต้องได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมโดยมีขั้นตอนวิธีดำเนินการ อันประกอบไปด้วย 1 ) การลดและการคัดแยก ณ แหล่งกำเนิด 2) การเก็บรวบรวม 3) การเก็บกัก 4) การขนส่ง 5) การแปรสภาพ 6) การกำจัดหรือทำลายด้วยวิธีการที่ถูกต้องเหมาะสมถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล ภายใต้หลักการ    3 Rs การลดปริมาณขยะ (Reduce) การใช้ซ้ำ (Reduce and Reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycling) การผลิตพลังงาน (Energy Recovery) และการกำจัดขั้นตอนสุดท้าย (Final Disposal) และเป็นการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคต่างๆ     อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาขยะที่ส่งผลโดยตรงต่อสุขอนามัยของคนในชุมชน จึงได้จัดโครงการ ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อมขึ้น เพื่อกระตุ้นให้คนในชุมชน ได้ตระหนักและรับรู้ถึงความจำเป็น ในการคัดแยกขยะ และการใช้ประโยชน์จากขยะและเป็นการลดปริมาณขยะที่มีประสิทธิภาพ และป้องกันปัญหาการเกิดมลพิษ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งยังส่งเสริมให้แต่ละครัวเรือนมีการจัดการขยะที่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง เพื่อไม่ให้ขยะดังกล่าวตกค้าง ทำให้ชุมชนสะอาด น่าอยู่ และไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะในครัวเรือนและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการนำกำจัดขยะมูลฝอย โดยใช้ หลักการ 3Rsคือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำและ นำกลับมาใช้ใหม่
  2. ข้อที่ 2 เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอย สร้างความตระหนักให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง โดยสร้างจิตสำนึกแก่ประชาชนในความปลอดภัยด้านสุขภาพได้ถูกต้องและเหมาะสม
  3. ข้อที่ 3 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ฝึกอบรมให้ความรู้ รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างเครือข่ายแยกขยะ ลดโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 26
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ชุมชนมีจิตสำนึกในการใช้หลักการ 3Rs คือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่
2.ลดพฤติกรรมเสี่ยงอันเนื่องมาจากการกำกัดขยะมูลฝอย 3.สิ่งแวดล้อมในชุมชนน่าอยู่
4.ครัวเรือนมีการควบคุมและลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะในครัวเรือน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการนำกำจัดขยะมูลฝอย โดยใช้ หลักการ 3Rsคือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำและ นำกลับมาใช้ใหม่
ตัวชี้วัด : 1.ชุมชนมีจิตสำนึกในการใช้หลักการ 3Rs คือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอย สร้างความตระหนักให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง โดยสร้างจิตสำนึกแก่ประชาชนในความปลอดภัยด้านสุขภาพได้ถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 2.ลดพฤติกรรมเสี่ยงอันเนื่องมาจากการกำกัดขยะมูลฝอยและเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมในชุมชนน่าอยู่
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือน
ตัวชี้วัด : 3.ครัวเรือนมีการควบคุมและลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะในครัวเรือน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 26
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 26
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการนำกำจัดขยะมูลฝอย โดยใช้ หลักการ 3Rsคือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำและ นำกลับมาใช้ใหม่ (2) ข้อที่ 2 เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอย สร้างความตระหนักให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง โดยสร้างจิตสำนึกแก่ประชาชนในความปลอดภัยด้านสุขภาพได้ถูกต้องและเหมาะสม (3) ข้อที่ 3 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ฝึกอบรมให้ความรู้  รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างเครือข่ายแยกขยะ ลดโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ม.1 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดรุณี ประสพสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด