กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการหนูน้อยรักษ์สะอาด ขยะของหนู ”
ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางอานีตา สะมะแอ




ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยรักษ์สะอาด ขยะของหนู

ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8300-3-05 เลขที่ข้อตกลง 22

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กันยายน 2563 ถึง 10 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยรักษ์สะอาด ขยะของหนู จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยรักษ์สะอาด ขยะของหนู



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยรักษ์สะอาด ขยะของหนู " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L8300-3-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กันยายน 2563 - 10 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในแต่ละวันของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์ พบมีขยะเกิดขึ้นจากกิจวัตรประจำวันของศูนย์ฯ ได้แก่ เศษกระดาษ ถุงพลาสติก ขวดแก้ว ขวดพลาสติก กล่องนม เศษอาหาร  แพมเพิส ฯลฯ นอกจากนี้ยังพบมีขยะที่มาจากจากผู้ปกครองและผู้คนที่สัญจรผ่านเส้นทางที่ตั้งศูนย์และเพื่อนบ้านซึ่งอยู่ภายในบริเวณเส้นทางเดียวกัน ด้วยการจัดการที่ยังไม่ดีมากนักทำให้เกิดขยะตั้งกองรวมกันบ้าน กระจัดกระจายไปตามริมถนนบ้าง ทำให้เกิดสภาพแวดล้อมที่ไม่ดีและไม่น่าดู และยังเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์นำโรค เช่น หนู แมลงสาปแมลงวัน จากการวิเคราะห์พบว่า ร้อยละ 50-60 % ของขยะภายใน ศูนย์ ฯเป็นขยะที่นำกลับมารีไซเคิลใหม่ได้ ดังนั้นการคัดแยกขยะจะทำให้ทางศูนย์รู้ว่าควรกำจัดขยะแต่ละประเภทอย่างไร จึงเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและงบประมาณหรือขยะเช่นใดบ้างที่ควรนำกลับมาหมุนเวียนใช้ใหม่ การคัดแยกขยะเป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญต่อระบบการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่และจะสามารถช่วยลดปัญหาขยะริมถนนและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์นำโรคด้วย
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์ เล็งเห็นความสำคัญและต้องการลดปริมาณขยะในศูนย์ สร้างกระบวนการคัดแยกขยะให้เกิดขึ้นและสามารถป้องกันโรคระบบทางเดินหายใจจากการทิ้งขยะผสมรวมกันอาจทำให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวนส่งผลให้เด็กไม่มีสมาธิในการจัดการเรียนการสอน ทำให้สภาพแวดล้อมบริเวณศูนย์เด็กเล็กไม่น่าดูและเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์นำโรคส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเด็กเล็กในศูนย์ฯ และสามารถนำขยะที่ได้กลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการเรียนรู้ของเด็กและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองโดยนำวัสดุเหลือมาประยุกต์ใช้กลับมาเป็นนวัตกรรมเกิดประโยชน์กับการเรียนรู้ของเด็กโดยตรง และเป็นการปลูกฝังโดยเด็กได้คิดเองทำเองใช้เอง ซึ่งจะสร้างองค์ความรู้ในการจัดการเรียนรู้จากสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ช่วยลดขยะในศูนย์ และยังสร้างจิตสำนึกที่ดีแก่เด็กตั้งแต่ยังเล็ก การที่เราได้ปลูกฝังให้เด็กได้รู้จักคิดด้วยตนเองตั้งแต่เด็กให้รู้จักวิธีรักษาตนเอง รู้จักการแก้ปัญหาการรักษาสิ่งแวดล้อมเป็นการปลูกจิตสำนึกที่ดี มีวินัย ให้กับเด็กตั้งแต่เยาว์วัย และเมื่อสิ่งที่เขาทำเป็นตัวอย่างที่ดีจะเป็นการสร้างประโยชน์กับตนเองและชุมชนในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อเด็ก ผู้ปกครอง และครูในศูนย์พัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์รู้จักการคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง
  2. ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ครู และผู้ปกครอง ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์รู้คุณค่าของขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีวินัยในตนเองและส่งเสริมให้เด็กมีใจรักษ์สะอาด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง คณะครู และเด็ก เรื่องการเรียนรู้ชนิดของขยะ สีของถังขยะแต่ละชนิด ระดมความคิด พัฒนาวินัย ใจรักษ์สะอาด และให้เด็กและผู้ปกครองลงมือปฎิบัติ พร้อมประเมินผลการแยกขยะของเด็กก่อนและหลังและร่วมกันผลิตของเล่นจากเศษวัสดุเหลือใช้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 69
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็ก ผู้ปกครอง และครู ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์รู้จักการคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องได้ด้วยตัวเอง
  2. เด็ก ผู้ปกครอง ครู ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์รู้คุณค่าของขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. เด็กมีวินัยในการทิ้งขยะและเด็กมีความตระหนักในการรักษาสิ่งแวดล้อมมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง คณะครู และเด็ก เรื่องการเรียนรู้ชนิดของขยะ สีของถังขยะแต่ละชนิด ระดมความคิด พัฒนาวินัย ใจรักษ์สะอาด และให้เด็กและผู้ปกครองลงมือปฎิบัติ พร้อมประเมินผลการแยกขยะของเด็กก่อนและหลังและร่วมกันผลิตของเล่นจากเศษวัสดุเหลือใช้

วันที่ 10 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะครู และ คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครองเด็ก เพื่อชี้แจงรายละเอียด
  2. แต่งตั้งคณะทำงานและแบ่งงานผู้รับชอบโครงการ พร้อมทั้งจัดเตรียมวัสดุ  อุปกรณ์
  3. จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และฝึกวินัยให้กับเด็กตามโครงการ  รายละเอียดการดำเนินกิจกรรม วันที่  10 กันยายน 2563  จะแบ่งกลุ่มผู้เข้าอบรม เป็น  ๒ ฐาน ดังนี้       ฐานที่ ๑ อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง  คณะครู และเด็ก เรื่อง การเรียนรู้ชนิดของขยะ  และสีของถังขยะแต่ละชนิด และให้เด็กและผู้ปกครองลงมือปฏิบัติ  พร้อมประเมินผลการคัดแยกขยะของเด็กก่อนและหลัง
    วิทยากรประจำฐานที่ ๑  นายอาซือมิง เจ๊ะอุเซ็ง  ผู้อำนวยการกองสวัสดิการสังคม และคณะครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์       ฐานที่ ๒ ร่วมกันผลิตของเล่นจากเศษวัสดุเหลือใช้ วิทยากรประจำฐานที่ ๒ นายอาแซ หาแว ภูมิปัญญาชาวบ้าน
  4. การดำเนินกิจกรรมตลอดปีการศึกษา  (ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง) รายละเอียดดังนี้

- ให้เด็กเก็บขยะในช่วงเช้าก่อนเข้าแถวเคารพธงชาติ - ให้เด็กแยกขยะลงถังตามสีที่เตรียมไว้โดยมีครูค่อยให้คำแนะนำในช่วงระยะหนึ่ง - ให้เด็กนำถาดอาหารไปเก็บด้วยตนเองทุกคน 5. การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน 6. รายงานผลการดำเนินงานให้หน่วยงานทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ในการจัดโครงการครั้งนี้ เพื่อให้เด็ก ผู้ปกครอง และครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์รู้จักการคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง รู้คุณค่าของขยะและรักษาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้เด็กมีวินัยในตนเองและมีใจรักษ์สะอาด

 

69 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อเด็ก ผู้ปกครอง และครูในศูนย์พัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์รู้จักการคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์สามารถแยกขยะได้เหมาะสมตามวัย 2.ผู้ปกครองเด็กสามารถจำแนกและแยกประเภทของขยะได้อย่างถูกต้อง 3.๕ ครูในศูนย์เด็กเล็กฯสามารถจำแนกและแยกประเภทของขยะได้อย่างถูกต้องและมีความรู้ความเข้าใจในการจัดกาเรียนรู้ให้เด็กได้ปฏิบัติต่อ
0.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ครู และผู้ปกครอง ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์รู้คุณค่าของขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : 1.เด็ก ครู และผู้ปกครอง ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์รู้คุณค่าของขยะ 2. เด็ก ครู และผู้ปกครอง ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์สามารถแยกขยะที่นำมาใช้ใหม่ และนำไปขายเพื่อเพิ่มรายได้ ได้อย่างถูกต้อง 3. เด็ก ครู และผู้ปกครอง ช่วยดันดูแลสภาพแวดล้อมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้น่าอยู่ได้ตลอดเวลา
0.00

 

3 ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีวินัยในตนเองและส่งเสริมให้เด็กมีใจรักษ์สะอาด
ตัวชี้วัด : 1.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์มีวินัยในตนเองได้อย่างเหมะสมตามวัย 2.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์มีใจรักสะอาด ดูแลช่วยเหลือตนเองได้ ดูอุปกรณ์เครื่องใช้ส่วนตัวได้อย่างเหมาะสมตมมวัย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 69
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 69
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อเด็ก  ผู้ปกครอง และครูในศูนย์พัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์รู้จักการคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง (2) ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ครู และผู้ปกครอง ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์รู้คุณค่าของขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3) ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีวินัยในตนเองและส่งเสริมให้เด็กมีใจรักษ์สะอาด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง คณะครู และเด็ก เรื่องการเรียนรู้ชนิดของขยะ สีของถังขยะแต่ละชนิด ระดมความคิด พัฒนาวินัย ใจรักษ์สะอาด และให้เด็กและผู้ปกครองลงมือปฎิบัติ พร้อมประเมินผลการแยกขยะของเด็กก่อนและหลังและร่วมกันผลิตของเล่นจากเศษวัสดุเหลือใช้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยรักษ์สะอาด ขยะของหนู จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8300-3-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอานีตา สะมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด