โครงการพัฒนาสุขภาพจิตผู้สูงอายุ
ชื่อโครงการ | โครงการพัฒนาสุขภาพจิตผู้สูงอายุ |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมผู้สูงอายุตำบลตาชี |
วันที่อนุมัติ | 7 มกราคม 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 15 พฤษภาคม 2563 - 15 พฤษภาคม 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 9,800.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายวีรวรรธน์ อินเกื้อ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.563,101.115place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 15 พ.ค. 2563 | 15 มี.ค. 2563 | 9,800.00 | |||
รวมงบประมาณ | 9,800.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สภาพปัจจุบันสังคมประชากรผู้สูงอายุตำบลตาชี (อายุ 60 ปีขึ้นไป) มีประมาณ 400 คนคิดเป็นร้อยละ 28 ของประชากรทั้งหมด (ประมาณ1,400คน) ซึ่งถือว่าเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มตัว ผู้สูงอายุเหล่านี้มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและจิตใจในลักษณะที่เห็นได้ชัดเจน เช่น ด้านร่างกายมีโรคภัยมากขึ้น ร่างกายอ่อนแอลง การเคลื่อนไหวช้าลง การทำกิจกรรมต่าง ๆ ลดน้อยถอยลงตามวัยตามอายุ ส่วนด้านจิตใจ เริ่มหดหู่ กังวล ขากคนดูแล บ้างก็ซึมเศร้า ปัญหาการใช้ชีงิตประจำวัน ปัญหาเศรษฐกิจ รายได้ไม่พอใช้จ่ายในยามชรา ปัญหาสิ่งแวดล้อมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับชีวิตผู้สูงอายุฯลฯ ่ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ไม่ดีเท่าที่ควร ชมรมผู้สูงอายุตำบลตาชีมีความตระหนักในปัญหาการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุดังกล่าว จึงได้กำหนดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุให้มีความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางในการปฎิบัติเพื่อให้สุขภาพจิตที่ดี และสามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อให้การดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีความสุข จึงได้จัดโครงการพัฒนาสุขภาพจิตผู้สูงอายุขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการพัฒนาสุขภาพจิต ผู้สูงอายุร้อยละ 85 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาสุขภาพจิต |
0.00 | |
2 | 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข ผู้สูงอายุร้อยละ 92 สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข |
0.00 | |
3 | 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี ผู้สูงอายุร้อยละ 93 มีสุขภาพจิตที่ดี |
0.00 | |
4 | 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกัน ผู้สูงอายุร้อยละ 100 ทำกิจกรรมร่วมกัน |
0.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการพัฒนาสุขภาพจิต |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกัน |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
ไม่ระบุวัตถุประสงค์ |
||||||
15 พ.ค. 63 | อบรมโครงการพัฒนาสุขภาพจิตผู้สูงอายุ | 40.00 | 9,800.00 | - |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
1.ขั้นตอนในการวางแผน 1.1 ประชุมคณะกรรมการชมรมเพื่อกำหนดโครงการ/กิจกรรม 1.2 กำหนดรายละเอียดของโครงการ 2.ขั้นตอนการดำเนินงาน 2.1 เสนอโครงการต่อคณะกรรมการกองทุนฯ 2.2 กำหนดกิจกรรม/รายละเอียดเนื้อหา 2.3 ประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 2.4 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ประกอบโครงการ 2.5 ดำเนินการ 2.6 สรุปรายงานผลผู้เกี่ยวข้อง
1.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาสุขภาพจิต
2.ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปปฎิบัติในการดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีและสมบูรณ์
4.ผู้สูงอายุมีความสุขที่ได้มาทำกิจกรรมร่วมกัน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ม.ค. 2563 14:53 น.