กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองนายขุ้ยปลอดโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ”
ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองนายขุ้ย โดยนางสาวรุ่งทิวา รุ่งรัตน์ หัวหน้าสถานศึกษา




ชื่อโครงการ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองนายขุ้ยปลอดโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7255-3 -03 เลขที่ข้อตกลง 44/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองนายขุ้ยปลอดโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองนายขุ้ยปลอดโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองนายขุ้ยปลอดโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7255-3 -03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,050.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่า และมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต การพัฒนาเด็กให้ได้รับความพร้อมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์สังคม และสติปัญญา จึงนับเป็นภารกิจสำคัญ ที่หน่วยงานซึ่งรับผิดชอบจะต้องตระหนักและให้ความสนใจ การนำเด็กไปโรงเรียนหรือสถานรับเลี้ยงเด็ก ทำให้เด็กเจ็บป่วยได้ง่าย เพราะศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก ซึ่งพฤติกรรมเด็กที่อยู่ร่วมกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กส่งผลต่อการแพร่กระจายเชื้อโรคได้ง่าย เช่น การเล่น การคลุกคลีใช้ของร่วมกัน ทาให้ปนเปื้อนและแพร่กระจายเชื้อโรคติดต่อสู่กันได้ง่าย หากเด็กป่วยก็จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพโดยรวมของเด็ก รวมทั้งการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กโรคที่พบบ่อยในเด็กได้แก่ โรคหวัด โรคอุจจาระร่วง โรคไข้เลือดออก โรคมือเท้าปาก โรคคางทูม โรคอีสุกอีใส และโรคหัด การป้องกันดูแลอย่างถูกต้องจะช่วยให้เด็กไปเรียนได้อย่างสนุกสนานและปลอดภัยจากโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานที่เด็กมาอยู่รวมกันจำนวนมาก หากมีเด็กป่วยด้วยโรคติดต่อถ้าไม่ได้รับการดูแลรักษาตั้งแต่เริ่มป่วยอาจทำให้การเจ็บป่วยมีอาการหรือภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงถึงชีวิตได้ นอกจากนี้ เมื่อเด็กเกิดการเจ็บป่วยยังส่งผลกระทบต่อผู้ปกครองที่ต้องหยุดงานเพื่อให้การดูแลเด็ก ทำให้ขาดรายได้และเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ดังนั้นการป้องกันควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพจึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการที่จะช่วยลดและแก้ไขปัญหาการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อที่พบบ่อยของเด็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองนายขุ้ยมีเด็กจำนวน 16 คนและเด็กในโรงเรียนบ้านหนองนายขุ้ย จำนวน 123คน และในปีที่ที่ผ่านมา มีจำนวนเด็กในชุมชนป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน2รายโรคมือปากเท้าเปื่อยจำนวน 1รายและเด็กป่วยด้วยโรคหวัดแล้วมาโรงเรียนจำนวน7รายทางคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้ปกครองครู และเทศบาลเมืองคลองแห ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญถึงบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานศูนย์เด็กเล็กที่สำคัญคือครูและผู้ดูแลเด็กที่ต้องปฏิบัติงานต้องมีความรู้ และแนวทางการดาเนินงานที่ถูกต้องเหมาะสม
และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ซึ่งจะสามารถช่วยให้เด็กมีสุขอนามัยและสุขภาพที่ดีมีพัฒนาการสมวัย และมีภูมิต้านทานโรคคณะกรรมการครูผู้ปกครอง จึงประชุมปรึกษาหารือในการดำเนินการแก้ไขปัญหา จึงได้มีมติในการประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหนองนายขุ้ย ให้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองนายขุ้ยจัดทำโครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองนายขุ้ยปลอดโรค ประจำปี 2563 ขึ้น เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการดำเนินงานในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อที่พบบ่อยในศุนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก นักเรียน และผู้ปกครองให้มีความรู้เรื่องการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยและลดอัตราป่วยรวมถึงการระบาดของโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหนองนายขุ้ย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
  3. เพื่อลดจำนวนเด็กป่วยเป็นไข้หวัดแล้วมาโรงเรียน
  4. เพื่อให้ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้และเข้าใจเรื่องการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์เด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจง ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้ดูแลเด็ก กรรมการ ผู้ปกครอง และผู้ที่เกี่ยวข้อง
  2. อบรมให้ความรู้แก่ครู กรรมการศูนย์ ฯ และผู้ดูแลเด็กเรื่องการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. กิจกรรมป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  4. ประชุมชี้แจง ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้ดูแลเด็ก กรรมการ ผู้ปกครอง และผู้ที่เกี่ยวข้อง
  5. อบรมให้ความรู้แก่ครู กรรมการศูนย์ ฯ และผู้ดูแลเด็กเรื่องการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  6. กิจกรรมป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 16
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 14
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีคุณภาพและมีมาตรฐานในการป้องกันโรคติดต่อ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)
1.00 2.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน)
20.00 2.00

 

3 เพื่อลดจำนวนเด็กป่วยเป็นไข้หวัดแล้วมาโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาเด็กป่วยแล้วมาโรงเรียนลดลง
7.00 5.00

 

4 เพื่อให้ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้และเข้าใจเรื่องการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์เด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : 1.ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้และเข้าใจเรื่องการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์เด็กเล็ก ร้อยละ 80 2.ประเมินสภาวะทางด้านร่างกาย เปรียบเทียบ ก่อน–หลัง ดำเนินโครงการ สุขภาพโดยรวมดีขึ้น ร้อยละ 80
10.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 16
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 14
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน) (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (3) เพื่อลดจำนวนเด็กป่วยเป็นไข้หวัดแล้วมาโรงเรียน (4) เพื่อให้ครูและผู้ดูแลเด็กมีความรู้และเข้าใจเรื่องการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์เด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจง ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  ผู้ดูแลเด็ก  กรรมการ  ผู้ปกครอง  และผู้ที่เกี่ยวข้อง (2) อบรมให้ความรู้แก่ครู กรรมการศูนย์ ฯ และผู้ดูแลเด็กเรื่องการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3) กิจกรรมป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (4) ประชุมชี้แจง ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  ผู้ดูแลเด็ก  กรรมการ  ผู้ปกครอง  และผู้ที่เกี่ยวข้อง (5) อบรมให้ความรู้แก่ครู กรรมการศูนย์ ฯ และผู้ดูแลเด็กเรื่องการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (6) กิจกรรมป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองนายขุ้ยปลอดโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7255-3 -03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองนายขุ้ย โดยนางสาวรุ่งทิวา รุ่งรัตน์ หัวหน้าสถานศึกษา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด