กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง


“ ส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อสุขภาพช่องปากที่ดีของประชาชน สอน.พะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปี 2563 ”

ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเรวดี รัตนะ

ชื่อโครงการ ส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อสุขภาพช่องปากที่ดีของประชาชน สอน.พะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63 – L7890 -001-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อสุขภาพช่องปากที่ดีของประชาชน สอน.พะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปี 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อสุขภาพช่องปากที่ดีของประชาชน สอน.พะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อสุขภาพช่องปากที่ดีของประชาชน สอน.พะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63 – L7890 -001-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,452.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพในช่องปากเป็นส่วนหนึ่งของการมีสุขภาพดี  ช่วยเสริมคุณภาพชีวิตเพราะปัญหาสุขภาพช่องปากจะส่งผลต่อระบบอื่นๆของร่างกาย  ดังนั้นเราจำเป็นต้องดูแลสุขภาพช่องปากให้สมบูรณ์  ซึ่งปัจจุบันแนวคิดในการดูแลสุขภาพช่องปากมิใช่การกำจัดโรคอย่างเดียว  แต่ต้องดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีตั้งแต่แรกเริ่ม  และคงสภาพที่ดีไว้  นั่นคือให้ความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคซึ่งดีกว่าการรักษา การส่งเสริมทันตสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปาก มุ่งเน้นที่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอนามัยโดยเฉพาะการทำความสะอาดช่องปากและการบริโภคอาหารอันเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิด ฟันผุ
จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 7 พ.ศ.2555 พบเด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 26.1 ร้อยละฟันผุของเด็ก 3 ขวบของจังหวัดสงขลาปี 2559 ร้อยละ52.73 ซึ่งสูงกว่าร้อยละฟันผุของเด็กไทยเฉลี่ยทั้งประเทศ จากการสำรวจข้อมูลเด็กวัย 0 – 3 ปี ที่มารับการตรวจฟันในคลินิกเด็กดี ณ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ พะตง ปี 2562 พบว่าเด็กมีฟันผุ ร้อยละ 20.65 (สอน.พะตง, 2562) นอกจากนี้ยังมีปัญหาในกลุ่มวัยอื่นอีกเช่น กลุ่มวัยเรียนมีฟันผุ ร้อยละ 15.62 (การสำรวจสอน.พะตง,2562) ซึ่งปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้นนี้ มีผลทำให้เด็กปวดฟัน รับประทานอาหารไม่ได้ การเจริญเติบโตไม่สมส่วน และเกิดจากผู้ปกครองมีความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพช่องปาก ตลอดจนการทำความสะอาดช่องปากที่ไม่ถูกวิธี วัยผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพ คือไม่มีฟันในการบดเคี้ยว และไม่ทราบถึงการเข้าถึงบริการ ซึ่งปัญหาดังกล่าวหากได้รับข้อมูลจากบุคคลใกล้ตัว เช่น อสม. จะทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างเหมาะสม
ดังนั้น ทางสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลพะตงจึงจัดทำโครงการ “ส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อสุขภาพช่องปากที่ดีของประชาชน สอน.พะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปี 2563” การประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุโดยการประเมินพฤติกรรมการกิน การทำความสะอาดฟัน ร่วมกับการตรวจช่องปาก จะช่วยผู้ปกครองให้พบความเสี่ยงหรือความผิดปกติตั้งแต่เริ่มต้น ซึ่งสามารถป้องกันและรักษาอย่างทันท่วงทีก่อนที่โรคจะลุกลาม และผู้ปกครองสามารถทำความสะอาดช่องปากและสร้างเสริมพฤติกรรมการกินให้กับเด็กได้อย่างเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ อสม.มีความรู้และดูแลสุขภาพช่องปาก ได้
  2. เพื่อให้ อสม.สาธิตการแปรงฟันได้ถูกวิธี
  3. เพื่อให้เกิดบุคคลต้นแบบด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ อสม.
  2. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ สุขภาพช่องปาก
  3. อสม.เฝ้าระวังสุขภาพช่องปากประชาชนในพื้นที่
  4. กิจกรรมประกวด อสม.ต้นแบบด้านส่งเสริมทันตสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 53
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม.สาธิตการแปรงฟันได้
  2. อสม.สามารถ ให้คำแนะนำกับ ประชาชนได้
  3. มีอสม.ต้นแบบด้านส่งเสริมทันตสุขภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ สุขภาพช่องปาก

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์ประชาสัมพันธ์ สุขภาพในช่องปาก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนเกิดความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพ ในช่องปาก

 

0 0

2. กิจกรรมประกวด อสม.ต้นแบบด้านส่งเสริมทันตสุขภาพ

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประกวด อสม.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพในช่องปาก

 

53 0

3. อสม.เฝ้าระวังสุขภาพช่องปากประชาชนในพื้นที่

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพในช่องปาก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนได้รับความรู้ และเกิดทักะในการดูแลสุขภาพในช่องปาก

 

0 0

4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ อสม.

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ ด้านการดูแลสุขภาพในช่องปาก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดองค์ความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพในช่องปาก

 

53 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ อสม.มีความรู้และดูแลสุขภาพช่องปาก ได้
ตัวชี้วัด : อสม.มีความรู้ ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้ อสม.สาธิตการแปรงฟันได้ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : อสม.สามารถสาธิตการแปรงฟันได้ถูกวิธี ได้ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้เกิดบุคคลต้นแบบด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพ
ตัวชี้วัด : มี อสม.ต้นแบบด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพ 1 คน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 53
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 53
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม.มีความรู้และดูแลสุขภาพช่องปาก ได้ (2) เพื่อให้ อสม.สาธิตการแปรงฟันได้ถูกวิธี (3) เพื่อให้เกิดบุคคลต้นแบบด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ อสม. (2) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ สุขภาพช่องปาก (3) อสม.เฝ้าระวังสุขภาพช่องปากประชาชนในพื้นที่ (4) กิจกรรมประกวด อสม.ต้นแบบด้านส่งเสริมทันตสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อสุขภาพช่องปากที่ดีของประชาชน สอน.พะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปี 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63 – L7890 -001-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเรวดี รัตนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด