โครงการกำจัดเหาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ชื่อโครงการ | โครงการกำจัดเหาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
รหัสโครงการ | 63-L7251-03-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดสากลอิสลาม |
วันที่อนุมัติ | 19 ธันวาคม 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 12,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวศิริลักษณ์ นิยมเดชา |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบ่อตรุ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.631,100.374place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายมีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับเด็กซึ่งกำลังเจริญเติบโต การดูแลรักษาความสะอาดของ ศีรษะ โดยเฉพาะโรคเหา ซึ่งเป็นโรคติดเชื้อปรสิตที่คอยเกาะกินบนหนังศีรษะที่ไม่สะอาด คอยดูดเลือดและวางไข่ ทำให้เกิดอาการคัน และรู้สึกรำคาญเกากินจนกลายเป็นแผลเปิด และติดเชื้อจนทำให้อักเสบทำให้เป็นที่รังเกียจของสังคมและอาจจะก่อให้เกิดภาวะโลหิตจางได้ด้วย ซึ่งเด็กที่มักเป็นโรคเหามักเป็นเด็กที่มีสุขวิทยาที่ไม่ถูกต้อง เหาเป็นโรคที่รักษาได้ง่ายด้วยการดูแลหนังศีรษะอย่างสม่ำเสมอแต่เนื่องจากเหาสามารถติดต่อได้ง่ายทั้งระหว่างนักเรียนด้วยกันและระหว่างบุคคลในครอบครัว การแก้ปัญหาเพื่อตัดวงจรการระบาดของโรคเหาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคือต้องกำจัดเหาและปฏิบัติตนเองอย่างถูกต้องจริงจังเกี่ยวกับการรักษาความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะให้ความรู้กับผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้เห็นถึงความสำคัญที่ต้องกำจัดเหาให้กับนักเรียนขึ้นเพื่อรณรงค์กำจัดเหาให้นักเรียนโดยมุ่งหวังให้นักรียนและผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและศีรษะ ที่จะช่วยป้องกันเหาและลดการแพร่ระบาดของโรคเหาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อทำให้นักเรียนครู ผู้ปกครอง มีความรู้ในเรื่องเหาและวิธีการปฏิบัติตนให้มีสุขภาพอนามัยที่ถูกต้อง นักเรียน ครู ผู้ปกครองได้รับความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคเหาและปฏิบัติตนเองให้มีสุขอนามัยที่ถูกต้อง |
0.00 | |
2 | เพื่อให้นักเรียนมีความปลอดภัยจากโรคเหา กเรียน มีความปลอดภัยจากโรคเหา |
0.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
- ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.จัดทำแผนและดำเนินโครงการ ซึ่งมีกิจกรรมดังนี้ 2.1 จัดประขุมผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อชี้แจงโครงการและร่วมวางแผนการดำเนินโครงการ 2.2 จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการกำจัดเหาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2.3 จัดอบรมให้ความรู้ในเรื่องเหาและวิธีปฏิบัติตนให้มีสุขอนามัยที่ถูกต้อง 2.4 จัดกิจกรรมภาคปฏิบัติ โดยการสาธิตวิธีการใช้ยาในการกำจัดเหา
- ประเมินโครงการโดยการเปรียบเทียบจำนวนนักเรียนที่เป็นเหาก่อนและหลังดำเนินโครงการ
- สรุปและรายงานผลให้ผู้บังคับบัญชาและหน่วยงานที่สนับสนุนทราบ
1.นักเรียน ครู ผู้ปกครอง มีความรู้ในเรื่องเหาและมีพฤติกรรมของสุขอนามัยที่ถูกต้อง 2.นักเรียนที่ตรวจพบเหาได้รับการกำจัดเหา
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ม.ค. 2563 14:25 น.