โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ชื่อโครงการ | โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
รหัสโครงการ | 63-L7251-03- |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามบ่อ |
วันที่อนุมัติ | 19 ธันวาคม 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 9,555.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางบุญญา ทองคำ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบ่อตรุ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.631,100.374place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
มือนับเป็นอวัยวะที่ทำให้มนุษย์ใ้หยิบจับสิ่งของต่างๆตั้งแต่ลืมตาขึ้นมาในตอนเช้า ไม่ว่าเป็นการล้างหน้า อาบน้ำ แปรงฟัน สัมผัสผู้อื่น รวมทั้งหยิบจับอาหารเข้าปาก มือจึงอาจนำเชื้อโรคเข้่าสู่ร่างกายและหากมีเป็นโรคติดต่อมืออาจเป็นอวัยวะที่เป็นตัวกลางในการนำเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายและนำเชื้อโรคไปแพร่สู่ผู้อื่นจากการสัมผัสโดยตรงหรือผ่านตัวกลางที่พบบ่อยและผู้คนมากมายที่เกิดจากการไม่ล้างมือหลังการทำกิจกรรมต่างๆเช่นโรคมือ เท้า ปาก เป็นดรคที่พบบ่อยในเด็กเล็ก โดยเฉพาะช่วงหน้าฝนเป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสกลุ่มเอนเทอโร ส่งผลให้มีอาการไข้ เป็นแผลในปาก มีตุ่มน้ำใสตามฝ่ามือ ฝ่าเท้า และลำตัว ถือได้ว่าเป็นโรคที่สร้างความกังวลให้กับผู้ปกครองอยู่ไม่น้อย โรคมือ เท้า ปาก สามารถติดต่อได้โดยการสัมผัสน้ำลาย น้ำมูก ผื่นตุ่มใน้ำใส และอุจจาระของผู้ป่วย เชื้ออาจจะแพร่กระจายโดยผ่านทางมือผู้ที่สัมผัสกัน เช่น การเปลี่นยผ้าของเด็กเล็ก สารคัดหลั่งจากจมูก ลำคอ น้ำลาย และน้ำจากตุ่มใส และสามารถติดต่อทางอ้อมจากการสัมผัสของเล่น อาหารหรือน้ำดื่มที่ปนเปื้อนเชื้อ โดยสถานที่ที่มักพบการระบาดของโรคได้แก่สถานที่รับเลี้ยงเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล ช่วงที่มักมีการระบาดของโรค ได้แก่สถานรับเลี้ยงเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาล ช่วงที่มักมีการระบาดของโรคนี้คือช่วงฤดูฝนเข้าสู่ฤดูหนาว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามบ่อ ได้เล้งเห็นความสำคัญของสถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก ในปัจจุบันจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมความใพร้อมในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพเมื่อผู้ปกครองได้ตระหนักและเฝ้าระวังป้องกันบุตรหลานให้พ้นอันตรายจากการแพร่ระบาดของโรคมือเท้าปาก ได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองเด็กเล็กมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก ครู ผู้ดูแลเด้ก ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ |
0.00 | |
2 | เพื่อเป็นการส่งเสริมกิจกรรมเฝ้าระวังโรคมือ เท้า ปาก ซึ่งเป็นโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เด็ก รู้จักระวังตนเองไม่ให้เป็นโรคมือ เท้า ปาก อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ |
0.00 | |
3 | เพื่อเผยแพร่คำแนะนำการดูแลสุขภาพเรื่องโรคมือ เท้า ปาก แก่ผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองรวมทั้งส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยที่ช่วยป้องกันโรคติดต่อโดยเฉพาะการล้างมือและการรักษาสุขอนามัยสภาพแวดล้อม ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและเด็กรู้จักการล้างมือที่ถูกต้องตามขั้นตอนและการรักษาสุขอนามัย สภาพแวดล้อม เพื่อป้องกันโรคมือ เท้า ปาก อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ |
0.00 | |
4 | เพื่อป้องกัน ควบคุม และลดอัตราการเกิดโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามบ่อ ลดอัตราการเกิดโรคมือ เท้า ปาก อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ |
0.00 |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองเด็กเล็ก มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก 2.สามารถส่งเสริมกิจกรรมเฝ้าระวังโรคมือ เท้า ปาก ซึ่งเป็นโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3.ครู ผู้ดูแลเด็กเล็ก สามารถนำความรู้จากการอบรมไปเผยแพร่คำแนะนำ การดูแลสุขภาพเรื่องโรคมือ เท้า ปาก แก่ผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองรวมทั้งส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยที่ช่วยป้องกันโรคติดต่อโดยเฉพาะการล้างมือและการรักษาสุขอนามัย สภาพแวดล้อม 4.สามารถป้องกัน ควบคุม และลดอัตราการเกิดโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ม.ค. 2563 14:53 น.