โครงการสองวัย สานใจสร้างสุขภาวะดี ชีวีอบอุ่น ประจำปี ๒๕๖๓
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสองวัย สานใจสร้างสุขภาวะดี ชีวีอบอุ่น ประจำปี ๒๕๖๓ ”
อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายเจ๊ะอิสมาแอน ปะดุกา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการสองวัย สานใจสร้างสุขภาวะดี ชีวีอบอุ่น ประจำปี ๒๕๖๓
ที่อยู่ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L8406-02-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสองวัย สานใจสร้างสุขภาวะดี ชีวีอบอุ่น ประจำปี ๒๕๖๓ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสองวัย สานใจสร้างสุขภาวะดี ชีวีอบอุ่น ประจำปี ๒๕๖๓
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสองวัย สานใจสร้างสุขภาวะดี ชีวีอบอุ่น ประจำปี ๒๕๖๓ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L8406-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจสถานการณ์แนวโน้มปัญหายาเสพติดในประเทศไทย ของสำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ปปส.) พบว่า สถานการณ์ปัญหายาเสพติดยังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยประมาณการว่าจะมีผู้ต้องหาที่ถูกจับกุมเพิ่ม 260,000 คน และมีผู้เข้ารับการบำบัดรักษาประมาณ 120,000 คน และจากการเปรียบเทียบระหว่างปี 25๖๑ จับกุมผู้ต้องหาคดียาเสพติดได้ 150,160 คน เพิ่มจากปี 25๖๐ จับกุมผู้ต้องหา ได้ 117,071 คน หมายความว่าแนวโน้มด้านผู้ติดยาเสพติด และถูกจับกุมดำเนินคดีในแต่ละปี เพิ่มขึ้นเป็นเรื่อยๆ อย่างไม่มีทีท่าจะลดลงได้อย่างง่ายดาย เมื่อมองถึงรายงานของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ที่ทำการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับสถานการณ์การแพร่ระบาดยาเสพติด ในเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา เนื่องในวันต่อต้านยาเสพติดโลก 26 มิถุนายน 25๖๑ ก็พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ระบุว่าปัญหายาเสพติดยังคงแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง โดยประชาชนร้อยละ 37.5 เห็นว่ายังมีปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้าน เพิ่มขึ้น ที่น่าสนใจคือ จากการสำรวจพบว่า กลุ่มที่น่าเป็นห่วงคือ กลุ่มเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 24 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มหลักที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับยาเสพติดมากที่สุด
ทางคณะกรรมการมัสยิดฟัตหุเร๊าะห์มาน หมู่ที่ ๙บ้านนาปริก ได้ดำเนินการพัฒนาศาสนสถานเป็นศูนย์เรียนรู้ระบบสุขภาพตามวิถีชุมชน ได้เล็งเห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหาและต่อยอดกิจกรรมของมัสยิดซึ่งทางมัสยิดได้จัดระบบการเรียนการสอนมีนักเรียนตาดีกาในความดูแล ซึ่งนักเรียนเหล่านี้ล้วนเป็นรากฐานสำคัญของชุมชนในอนาคต แต่จากการเปลี่ยนแปลงตามกระแสการพัฒนาที่เน้นด้านเศรษฐกิจ วัตถุนิยม และบริโภคนิยม ส่งผลกระทบต่อสังคมและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ในบางคนพ่อ/แม่ ทำงานหนัก ไม่มีเวลาเลี้ยงดูลูก หรือเลี้ยงดูในแบบ ที่ไม่เหมาะสม ส่งผลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กและเยาวชน การปรับตัวเข้ากับสังคมหรือสิ่งแวดล้อมประกอบกับสื่อที่มีอิทธิพลอย่างกว้างขวางที่มิได้สำนึกถึงผลที่ตามมาจากการเผยแพร่ข่าวสารข้อมูล ที่กระตุ้นยั่วยุ หรือส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนกลายเป็นนักบริโภคแฟชั่น ก่อให้เกิดปัญหาเด็กติดเกมส์ การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร การเสพยาเสพติด การเล่นการพนัน ความรุนแรงและการทำร้ายร่างกายซึ่งกันและกัน เป็นต้น จากปัญหาดังกล่าวฯทางคณะกรรมการมัสยิด จึงได้จัดทำโครงการขึ้น เพื่อคาดหวังให้กลุ่มเป้าหมาย ได้มีทักษะชีวิต รู้เท่าทันภัยยาเสพติด เพื่อส่งผลโดยภาพรวมของการแก้ไขปัญหาอื่นๆร่วมด้วย และจัดตั้งกลุ่มในการทำความดี เพื่อตอบแทนคุณบ้านเกิด เสริมความมีคุณค่า และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียน รู้วิถีชีวิตของผู้สูงอายุและภูมิปัญญาในชุมชน
- เพื่อให้กลุ่มสองวัยเกิด สัมพันธภาพความผูกพันธ์และสร้างภูมิคุ้มกันชีวิตให้คนรุ่นหลัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านการให้ความรู้ ทักษะ เด็กและเยาวชน
- จัดกิจกรรมสานสัมพันธ์คนสองวัย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ ได้มีทักษะชีวิต และมีการดำเนินชีวิตที่ดี เหมาะสมผ่านการเรียนรู้จากผู้สูงอายุต้นแบบ เพื่อส่งผลโดยภาพรวมของการ
แก้ไขปัญหาอื่นๆร่วมด้วย และจัดตั้งกลุ่มในการทำความดี เพื่อตอบแทนคุณบ้านเกิด เสริมความมีคุณค่า และการ
ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียน รู้วิถีชีวิตของผู้สูงอายุและภูมิปัญญาในชุมชน
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนโรงเรียนตาดีกา ร้อยละ ๘๐ สามารถบอกแนวทางดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุต้นแบบได้
0.00
2
เพื่อให้กลุ่มสองวัยเกิด สัมพันธภาพความผูกพันธ์และสร้างภูมิคุ้มกันชีวิตให้คนรุ่นหลัง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของผู้สูงอายุมีสุขภาวะที่ดี ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
0
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียน รู้วิถีชีวิตของผู้สูงอายุและภูมิปัญญาในชุมชน (2) เพื่อให้กลุ่มสองวัยเกิด สัมพันธภาพความผูกพันธ์และสร้างภูมิคุ้มกันชีวิตให้คนรุ่นหลัง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านการให้ความรู้ ทักษะ เด็กและเยาวชน (2) จัดกิจกรรมสานสัมพันธ์คนสองวัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสองวัย สานใจสร้างสุขภาวะดี ชีวีอบอุ่น ประจำปี ๒๕๖๓ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L8406-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายเจ๊ะอิสมาแอน ปะดุกา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสองวัย สานใจสร้างสุขภาวะดี ชีวีอบอุ่น ประจำปี ๒๕๖๓ ”
อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายเจ๊ะอิสมาแอน ปะดุกา
กันยายน 2563
ที่อยู่ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L8406-02-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสองวัย สานใจสร้างสุขภาวะดี ชีวีอบอุ่น ประจำปี ๒๕๖๓ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสองวัย สานใจสร้างสุขภาวะดี ชีวีอบอุ่น ประจำปี ๒๕๖๓
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสองวัย สานใจสร้างสุขภาวะดี ชีวีอบอุ่น ประจำปี ๒๕๖๓ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L8406-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจสถานการณ์แนวโน้มปัญหายาเสพติดในประเทศไทย ของสำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ปปส.) พบว่า สถานการณ์ปัญหายาเสพติดยังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยประมาณการว่าจะมีผู้ต้องหาที่ถูกจับกุมเพิ่ม 260,000 คน และมีผู้เข้ารับการบำบัดรักษาประมาณ 120,000 คน และจากการเปรียบเทียบระหว่างปี 25๖๑ จับกุมผู้ต้องหาคดียาเสพติดได้ 150,160 คน เพิ่มจากปี 25๖๐ จับกุมผู้ต้องหา ได้ 117,071 คน หมายความว่าแนวโน้มด้านผู้ติดยาเสพติด และถูกจับกุมดำเนินคดีในแต่ละปี เพิ่มขึ้นเป็นเรื่อยๆ อย่างไม่มีทีท่าจะลดลงได้อย่างง่ายดาย เมื่อมองถึงรายงานของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ที่ทำการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับสถานการณ์การแพร่ระบาดยาเสพติด ในเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา เนื่องในวันต่อต้านยาเสพติดโลก 26 มิถุนายน 25๖๑ ก็พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ระบุว่าปัญหายาเสพติดยังคงแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง โดยประชาชนร้อยละ 37.5 เห็นว่ายังมีปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้าน เพิ่มขึ้น ที่น่าสนใจคือ จากการสำรวจพบว่า กลุ่มที่น่าเป็นห่วงคือ กลุ่มเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 24 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มหลักที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับยาเสพติดมากที่สุด ทางคณะกรรมการมัสยิดฟัตหุเร๊าะห์มาน หมู่ที่ ๙บ้านนาปริก ได้ดำเนินการพัฒนาศาสนสถานเป็นศูนย์เรียนรู้ระบบสุขภาพตามวิถีชุมชน ได้เล็งเห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหาและต่อยอดกิจกรรมของมัสยิดซึ่งทางมัสยิดได้จัดระบบการเรียนการสอนมีนักเรียนตาดีกาในความดูแล ซึ่งนักเรียนเหล่านี้ล้วนเป็นรากฐานสำคัญของชุมชนในอนาคต แต่จากการเปลี่ยนแปลงตามกระแสการพัฒนาที่เน้นด้านเศรษฐกิจ วัตถุนิยม และบริโภคนิยม ส่งผลกระทบต่อสังคมและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ในบางคนพ่อ/แม่ ทำงานหนัก ไม่มีเวลาเลี้ยงดูลูก หรือเลี้ยงดูในแบบ ที่ไม่เหมาะสม ส่งผลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กและเยาวชน การปรับตัวเข้ากับสังคมหรือสิ่งแวดล้อมประกอบกับสื่อที่มีอิทธิพลอย่างกว้างขวางที่มิได้สำนึกถึงผลที่ตามมาจากการเผยแพร่ข่าวสารข้อมูล ที่กระตุ้นยั่วยุ หรือส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนกลายเป็นนักบริโภคแฟชั่น ก่อให้เกิดปัญหาเด็กติดเกมส์ การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร การเสพยาเสพติด การเล่นการพนัน ความรุนแรงและการทำร้ายร่างกายซึ่งกันและกัน เป็นต้น จากปัญหาดังกล่าวฯทางคณะกรรมการมัสยิด จึงได้จัดทำโครงการขึ้น เพื่อคาดหวังให้กลุ่มเป้าหมาย ได้มีทักษะชีวิต รู้เท่าทันภัยยาเสพติด เพื่อส่งผลโดยภาพรวมของการแก้ไขปัญหาอื่นๆร่วมด้วย และจัดตั้งกลุ่มในการทำความดี เพื่อตอบแทนคุณบ้านเกิด เสริมความมีคุณค่า และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียน รู้วิถีชีวิตของผู้สูงอายุและภูมิปัญญาในชุมชน
- เพื่อให้กลุ่มสองวัยเกิด สัมพันธภาพความผูกพันธ์และสร้างภูมิคุ้มกันชีวิตให้คนรุ่นหลัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านการให้ความรู้ ทักษะ เด็กและเยาวชน
- จัดกิจกรรมสานสัมพันธ์คนสองวัย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ ได้มีทักษะชีวิต และมีการดำเนินชีวิตที่ดี เหมาะสมผ่านการเรียนรู้จากผู้สูงอายุต้นแบบ เพื่อส่งผลโดยภาพรวมของการ แก้ไขปัญหาอื่นๆร่วมด้วย และจัดตั้งกลุ่มในการทำความดี เพื่อตอบแทนคุณบ้านเกิด เสริมความมีคุณค่า และการ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียน รู้วิถีชีวิตของผู้สูงอายุและภูมิปัญญาในชุมชน ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนโรงเรียนตาดีกา ร้อยละ ๘๐ สามารถบอกแนวทางดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุต้นแบบได้ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้กลุ่มสองวัยเกิด สัมพันธภาพความผูกพันธ์และสร้างภูมิคุ้มกันชีวิตให้คนรุ่นหลัง ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของผู้สูงอายุมีสุขภาวะที่ดี ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 0 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 0 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 0 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียน รู้วิถีชีวิตของผู้สูงอายุและภูมิปัญญาในชุมชน (2) เพื่อให้กลุ่มสองวัยเกิด สัมพันธภาพความผูกพันธ์และสร้างภูมิคุ้มกันชีวิตให้คนรุ่นหลัง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านการให้ความรู้ ทักษะ เด็กและเยาวชน (2) จัดกิจกรรมสานสัมพันธ์คนสองวัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสองวัย สานใจสร้างสุขภาวะดี ชีวีอบอุ่น ประจำปี ๒๕๖๓ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L8406-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายเจ๊ะอิสมาแอน ปะดุกา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......