กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง


“ โครงการขับเคลื่อนลดขยะที่ต้นทางและการบริหารจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนแบบยั่งยืน ”

ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายบำรุง พรหมเจริญ

ชื่อโครงการ โครงการขับเคลื่อนลดขยะที่ต้นทางและการบริหารจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนแบบยั่งยืน

ที่อยู่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5205-02-05 เลขที่ข้อตกลง 6/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 เมษายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขับเคลื่อนลดขยะที่ต้นทางและการบริหารจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนแบบยั่งยืน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขับเคลื่อนลดขยะที่ต้นทางและการบริหารจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนแบบยั่งยืน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขับเคลื่อนลดขยะที่ต้นทางและการบริหารจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนแบบยั่งยืน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5205-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 กุมภาพันธ์ 2563 - 30 เมษายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 135,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเพิ่มของขยะที่เป็นปัญหาใหญ่ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลคลองหรังได้สนับสนุนการดำเนินโครงการชุมชนปลอดขยะ (Zero Waste) ริเริ่มขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน นั้น ถือได้ว่าเป็นโครงการที่ดีอีกโครงการหนึ่งที่จะส่งเสริมให้ครัวเรือนในตำบลคลองหรัง ดำเนินกิจกรรม ลด คัดแยก และนำกลับขยะมาใช้ประโยชน์ รวมถึงการรวบรวมขยะ ส่งไปกำจัดอย่างถูกต้อง ปลูกฝังจิตสำนึก การลด คัดแยกขยะ และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ในชุมชน
การบริหารจัดการขยะ ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ยังไม่สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบกับเรื่องดังกล่าวเป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลที่ให้ความสำคัญในการเร่งรัดแก้ไขปัญหาการจัดการขยะที่ทุกภาคส่วนต้องให้ความสำคัญและถือปฏิบัติตามนโยบายในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยตาม Roadmap จำนวน 3 ขั้นตอน ได้แก่ การแก้ปัญหาขยะเก่า ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นใหม่ วางระเบียบมาตรการรองรับการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียที่เป็นอันตรายและการสร้างวินัยของคนในชาติ ส่งเสริมให้เกิดกลไกการคัดแยกขยะ และเพื่อให้การบริหารจัดการขยะมูลฝอยเป็นไปตามนโยบายการจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ ซึ่งถือเป็นวาระแห่งชาติ และเป็นไปด้วยความรวดเร็วมีผลในการปฏิบัติ อีกทั้งสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะโดยอาศัยหลัก 5 R คือ Reduce การลดปริมาณขยะโดยลดการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุภัณฑ์สิ้นเปลือง, Reuse การนำมาใช้เช่น ขวดแก้ว กล่องกระดาษ กระดาษพิมพ์หน้าหลัง เป็นต้น , Repair การซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของต่าง ๆ ให้สามารถใช้งานต่อได้ , Reject การหลีกเลี่ยงใช้สิ่งที่ก่อให้เกิดมลพิษ, Recycle การแปรสภาพและหมุนเวียนกลับมาใช้ได้ใหม่โดยนำไปผ่านกระบวนการผลิต
ในส่วนของขยะอินทรีย์ซึ่งถือเป็นปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อมลภาวะอยู่ในขณะนี้ ซึ่งหากมีการหมักหมมทำให้เกิดเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภาหะของโรคไข้เลือดออก และหากมีแมลงวันมาตอมขยะเปียกก็ทำให้เกิดการนำเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายได้ง่ายทำให้การแพร่ระบาดของโรคต่าง ๆ หากมีกรรมวิธีการจัดการขยะเปียกให้ถูกวิธีก็จะส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงห่างไกลจากโรคไข้เลือดออก และ โรคระบาดต่าง ๆ
องค์การบริหารส่วนตำบลคลองหรัง ได้เล็งเห็นถึงคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของคนในชุมชน และคุณประโยชน์ของขยะเปียกในการนำขยะเปียกกลับมาใช้ใหม่โดยกระบวนการต่าง ๆ และวิธีการนำขยะเปียกไปใช้ประโยชน์ จึงได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อบริหารจัดการขยะเปียกไม่ให้ตกค้างในครัวเรือนและไม่เข้าสู่ระบบการเก็บขน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้แกนนำที่เข้ารับการกอบรมนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติจริง เป็นตัวอย่างให้กับครัวเรือนที่รับผิดชอบ
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความตระหนักในการคัดแยกขยะมูลฝอยและนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  3. ข้อที่ 3 เพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนตำบลคลองหรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ขยะในปัจจุบัน และการขับเคลื่อนแนวทางการบริหารจัดการขยะในประเทศไทย
  2. อบรมให้ความรู้เรื่อง “การขับเคลื่อนลดขยะต้นทาง (Zero Waste) ปลายทางขยะสร้างรายได้ชุมชนและการบริหารจัดการขยะต้นทางด้วยกลยุทธ์ 5 R แบบครบวงจรอย่างยั่งยืน การขัดเคลื่อนลดขยะต้นทาง (Zero Waste) 5R
  3. อบรมให้ความรู้เรื่อง “การบริหารจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนแบบยั่งยืน”
  4. ประเมินความรู้หลังอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความตระหนักในการคัดแยกขยะมูลฝอยและมีการนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  2. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้ครัวเรือนที่รับผิดชอบรู้จักการคัดแยกขยะที่ต้นทาง และการนำขยะเปียกไปใช้ประโยชน์โดยวิธีการต่าง ๆ
  3. สามารถลดปริมาณขยะมูลฝอย และแก้ปัญหาการจัดการขยะด้วยตนเองภายในตำบลโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการ
  4. การคัดแยกขยะสามารถเพิ่มมูลค่าให้ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น
  5. ลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่มีต้นกำเกิดมาจากการหมักหมมของขยะเปียก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้แกนนำที่เข้ารับการกอบรมนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติจริง เป็นตัวอย่างให้กับครัวเรือนที่รับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมสามารถคัดแยกขยะเป็น ร้อยละ 80
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความตระหนักในการคัดแยกขยะมูลฝอยและนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะ ร้อยละ 80
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนตำบลคลองหรัง
ตัวชี้วัด : ประชาชนตำบลคลองหรังมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงขึ้น ลดปัญหาพาหะนำโรค ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้แกนนำที่เข้ารับการกอบรมนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติจริง เป็นตัวอย่างให้กับครัวเรือนที่รับผิดชอบ (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความตระหนักในการคัดแยกขยะมูลฝอยและนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (3) ข้อที่ 3 เพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนตำบลคลองหรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ขยะในปัจจุบัน และการขับเคลื่อนแนวทางการบริหารจัดการขยะในประเทศไทย (2) อบรมให้ความรู้เรื่อง “การขับเคลื่อนลดขยะต้นทาง (Zero Waste) ปลายทางขยะสร้างรายได้ชุมชนและการบริหารจัดการขยะต้นทางด้วยกลยุทธ์ 5 R แบบครบวงจรอย่างยั่งยืน การขัดเคลื่อนลดขยะต้นทาง (Zero Waste) 5R (3) อบรมให้ความรู้เรื่อง  “การบริหารจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนแบบยั่งยืน” (4) ประเมินความรู้หลังอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขับเคลื่อนลดขยะที่ต้นทางและการบริหารจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนแบบยั่งยืน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5205-02-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายบำรุง พรหมเจริญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด