กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางสัก


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสักตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
สถานีอนามัยตำบลบางสัก

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสักตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2560-L1469-1-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสักตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสักตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2560-L1469-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันได้มีการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมหลายวิธี ซึ่งการรักษาทางแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเป็นหนึ่งวิธีที่ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ และฟื้นฟูผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม และพบว่ามีประสิทธิภาพในการรักษา เช่น การประคบร้อน โดยจากการศึกษาของ พยอม สุวรรณ (2548) พบว่า การลดปวดในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมโดยการประคบร้อนด้วยสมุนไพร และสามารถลดอาการปวด ข้อฝืด และความยากลำบากในการทำกิจกรรมได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และจากการศึกษาของ ทัศน์ วรรณสังฆรักษ์ (2554) ได้ศึกษาผลของการประคบด้วยความร้อนตื้น การออกกำลังกล้ามเนื้อต้นขาร่วมกับการ สนับสนุนการบำบัดที่บ้านต่อระดับอาการปวดข้อฝืด และการทำกิจวัตรประจำวันในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิ พบว่า อาการปวดและข้อฝืด ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จะเห็นได้ว่าปัญหาข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคเรื้อรัง ที่ต้องใช้ระยะเวลานานในการรักษา ดังนั้นผู้สูงอายุ จึงควรทราบถึงวิธี ในการดูแลรักษาอาการข้อเข่าเสื่อมเบื้องต้นด้วยตัวเอง เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษา รวมถึง ประหยัดเวลาในการเดินทางไปโรงพยาบาล ดังที่กล่าวมาข้างต้น งานแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ทั้งนี้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม อยู่ในเขตความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ควรได้รับการดูแล ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเบื้องต้น ตลอดจน การได้รับการป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุในกลุ่มที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคข้อเข่าเสื่อม เพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้มในกลุ่มผู้สูงอายุ และส่งเสริมกิจกรรมการรวมตัวในกลุ่มผู้สูงอายุติดสังคม ให้มีกิจกรรมในการดำเนินงาน เพื่อให้มีผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี ตลอดจน เป็นการบูรณาการงานผู้สูงอายุ ระหว่าง กระทรวงสาธารณสุข และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย โดยให้ประชาชนในพื้นที่มีสุขภาพดี และมีกิจกรรมการดำเนินงาน ที่เป็นรูปธรรม และยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพเบื้องต้นในกลุ่มผู้สูงอายุ ตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง เป้าหมาย - ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ได้รับการคัดกรอง และประเมินด้านการช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน Activities of daily living (ADLs) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 และผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมิน และความสมบูรณ์การบันทึกข้อมูลทางการแพทย์และสุขภาพ เพื่อการส่งออก 43 แฟ้ม และการประมวลผลคลังข้อมูลสุขภาพ (Health Data Center : HDC) ของกระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง ได้อย่างถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
  2. ข้อที่ 2.เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมบูรณาการ งานผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ในกลุ่มงานแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม ที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ได้รับการคัดกรองและประเมินแบบระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score) และสามารถจำแนกประเภทผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม เพื่อเข้ารับการบำบัด รักษา ฟื้นฟู ด้วยระบบการแพทย์แผนปัจจุบัน และการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกอย่างถูกต้อง และเหมาะสม ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ตามแบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score) กลุ่ม 3-4 ได้รับความรู้เบื้องต้น และเข้าร่วมกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
  3. ข้อที่ 3. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน และส่งเสริมคุณภาพชีวิตในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม และเข้าร่วมกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสัก อำเภอกันตังมีระดับความเจ็บปวดของข้อเข่าลดลง ร่วมกับ ได้รับการบำบัดรักษาด้วย การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกครบวงจร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 250
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ได้รับการคัดกรอง และประเมินด้านการช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน Activities of daily living (ADLs) และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง สามารถบันทึกข้อมูลทางการแพทย์และสุขภาพ เพื่อการส่งออก 43 แฟ้ม และการประมวลผลคลังข้อมูลสุขภาพ (Health Data Center : HDC) ของกระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง ได้อย่างถูกต้อง 2.ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ได้รับการคัดกรองและประเมินแบบระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score) และสามารถเข้ารับการบำบัด รักษา ฟื้นฟู ด้วยระบบการแพทย์แผนปัจจุบัน และการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกอย่างถูกต้อง และเหมาะสม
    2. ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ตามแบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score) กลุ่ม 3-4 มีความรู้เบื้องต้น และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ประจำปีงบประมาณ 2560 ครบวงจร มีระดับความเจ็บปวดของข้อเข่าลดลง ร่วมกับ ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนจาการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชาสัมพันธ์รณรงค์โครงการ

    วันที่ 5 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์และรถแห่ประชาสัมพันธ์

     

    250 500

    2. คัดกรองและประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำการคัดกรองผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม  ไดัจำนวนผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม

     

    250 250

    3. ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อม แบบบูรณาการ ด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

    วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ป่วยได้รับความรู้และนำไปปฏิบัติเองได้

     

    250 250

    4. ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมแบบบูรณาการด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกแบบครบวงจร

    วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมได้รับการส่งเสริมและดูแลอย่างทั่วถึง

     

    250 65

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพเบื้องต้นในกลุ่มผู้สูงอายุ ตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง เป้าหมาย - ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ได้รับการคัดกรอง และประเมินด้านการช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน Activities of daily living (ADLs) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 และผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมิน และความสมบูรณ์การบันทึกข้อมูลทางการแพทย์และสุขภาพ เพื่อการส่งออก 43 แฟ้ม และการประมวลผลคลังข้อมูลสุขภาพ (Health Data Center : HDC) ของกระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง ได้อย่างถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุตำบลบางสัก อำเภอกันตัง ได้รับการคัดกรอง และประเมิน (ADLs) -ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองและประเมิน (ADLs) ได้รับการบันทึกข้อมูลทางการแพทย์และสุขภาพ เพื่อการส่งออก 43 แฟ้ม ได้อย่างถูกต้อง เครื่องมือ / วิธีการ -แบบสอบถาม /แบบประเมิน/แบบรายงาน เกณฑ์ -ร้อยละ 90

     

    2 ข้อที่ 2.เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมบูรณาการ งานผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ในกลุ่มงานแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม ที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ได้รับการคัดกรองและประเมินแบบระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score) และสามารถจำแนกประเภทผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม เพื่อเข้ารับการบำบัด รักษา ฟื้นฟู ด้วยระบบการแพทย์แผนปัจจุบัน และการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกอย่างถูกต้อง และเหมาะสม ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ตามแบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score) กลุ่ม 3-4 ได้รับความรู้เบื้องต้น และเข้าร่วมกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม ที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ได้รับการคัดกรองและประเมินแบบระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม อย่างถูกต้อง -ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ได้รับความรู้เบื้องต้น และเข้าร่วมกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ประจำปีงบประมาณ 2560 ครบวงจร เครื่องมือ / วิธีการ -แบบสอบถาม /แบบประเมิน/แบบรายงาน เกณฑ์ -ร้อยละ 80

     

    3 ข้อที่ 3. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน และส่งเสริมคุณภาพชีวิตในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม และเข้าร่วมกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสัก อำเภอกันตังมีระดับความเจ็บปวดของข้อเข่าลดลง ร่วมกับ ได้รับการบำบัดรักษาด้วย การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกครบวงจร
    ตัวชี้วัด : -ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีภาวะพลัดตกหกล้ม จากการประเมินด้วยกลุ่มโรค (Geriatric Syndrome) เครื่องมือ / วิธีการ -แบบสอบถาม /แบบประเมิน/แบบรายงาน เกณฑ์ - ร้อยละ 10

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 250
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพเบื้องต้นในกลุ่มผู้สูงอายุ
    ตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง เป้าหมาย - ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ได้รับการคัดกรอง และประเมินด้านการช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน Activities of daily living (ADLs) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 และผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมิน และความสมบูรณ์การบันทึกข้อมูลทางการแพทย์และสุขภาพ เพื่อการส่งออก 43 แฟ้ม และการประมวลผลคลังข้อมูลสุขภาพ (Health Data Center : HDC) ของกระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง ได้อย่างถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 (2) ข้อที่ 2.เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมบูรณาการ งานผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ในกลุ่มงานแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม ที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ได้รับการคัดกรองและประเมินแบบระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score) และสามารถจำแนกประเภทผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม เพื่อเข้ารับการบำบัด รักษา ฟื้นฟู ด้วยระบบการแพทย์แผนปัจจุบัน และการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกอย่างถูกต้อง และเหมาะสม ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ตามแบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score) กลุ่ม 3-4 ได้รับความรู้เบื้องต้น และเข้าร่วมกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง (3) ข้อที่ 3. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน และส่งเสริมคุณภาพชีวิตในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม และเข้าร่วมกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสัก อำเภอกันตังมีระดับความเจ็บปวดของข้อเข่าลดลง ร่วมกับ ได้รับการบำบัดรักษาด้วย การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกครบวงจร

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 2560-L1469-1-4

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( สถานีอนามัยตำบลบางสัก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด