โครงการสูงวัย สดใส ใจเกินร้อย (ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านบ่อทราย)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสูงวัย สดใส ใจเกินร้อย (ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านบ่อทราย) ”
ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางประดับ เขมะชัยเวช
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการสูงวัย สดใส ใจเกินร้อย (ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านบ่อทราย)
ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L000-2-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสูงวัย สดใส ใจเกินร้อย (ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านบ่อทราย) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัย สดใส ใจเกินร้อย (ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านบ่อทราย)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสูงวัย สดใส ใจเกินร้อย (ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านบ่อทราย) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L000-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นบุคคล ที่สถาบันครอบครัวไทยให้การเคารพยกย่องมากที่สุด เพราะเป็นบุคคลที่มีประสบการณ์ในชีวิตสูง เป็นผู้ถ่ายทอดความสามารถ ประเพณี วัฒนธรรมและค้ำจุนจิตใจ ให้แก่บุคคลในครอบครัว ชุมชน และสังคม ได้อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด
แต่ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยจะสูญเสียความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันความสามารถเสื่อมถอย ต้องอาศัยญาติและครอบครัวคอยดูแล ทำให้เป็นภาระ ผลกระทบต่อภาวะทุพพลภาพในผู้สูงอายุเกิดจากกระบวนการการสูงวัยและโรคต่าง ๆมากมายทำให้เกิดปัญหา ทั้งด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต เศรษฐกิจ สังคม ปัญหาเกี่ยวกับครอบครัว และปัญหา ค่านิยมที่เปลี่ยนแปลง เป็นกลุ่มประชากรที่ใช้บริการสุขภาพสูงกว่าวัยอื่นๆ และจะต้องใช้จ่ายงบประมาณของประเทศในด้านการรักษาพยาบาลสูง
ผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ รพ.สต บ้านบ่อทราย ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง ทั้งหมด 501 คน จากการสำรวจสภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุในเขต รพ.สต.บ้านบ่อทราย พบว่า ผู้สูงอายุเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน จำนวน 83 คน คิดเป็นร้อยละ 16.57โรคความดันโลหิตสูงจำนวน 216คนคิดเป็นร้อยละ 43.11 ปัญหาเรื่องสุขภาพช่องปาก จำนวน 138 คน คิดเป็นร้อยละ 27.54 ภาวะซึมเศร้า จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 3.39 และเขาเสื่อม จำนวน 135 คน คิดเป็นร้อยละ 26.95 การได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ และการออกกำลังกายอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอจะสามารถป้องกันและแก้ไขภาวะผิดปกติที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูกปัญหาสุขภาพร่างกาย รวมทั้งปัญหาสุขภาพจิต ช่วยให้อายุยืนยาวขึ้น และมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบรูณ์แข็งแรง
อย่างไรก็ตามการมารับความรู้ในโรงเรียนผู้สูงอายุ พร้อมกับการออกกำลังกายนี้จำเป็นต้องจัดให้เหมาะสมกับร่างกาย เช่น เพศ และความแข็งแรงที่มีอยู่ เนื่องจากการออกกำลังกายมากเกินไป หรือหักโหมจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายได้ การออกกำลังกายเป็นประจำจึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับผู้สูงอายุเพราะนอกจากจะช่วยป้องกันการเสื่อมโทรมของร่างกายแล้วยังสามารถแก้ไขความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นแล้วได้ด้วยการออกกำลังกาย
ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สตบ้านบ่อทราย ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมให้สมาชิกในชมรมผู้สูงอายุจึงได้จัดทำโครงการสูงวัยสดใสใจเกินร้อยขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและสุขภาพจิตใจที่ดี ไม่ให้เป็นภาระแก่ครอบครัว ชุมชนและสังคมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถดูแลด้านสุขภาพของตนได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สูงอายุเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ และมีกิจกรรมส่งเสริมการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เช่น การออกกำลังกาย การนั่งสมาธิ การผ่อนคลายความเครียดที่ถูกวิธี ฯลฯ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมออกกำลังกาย
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ/กิจกรรมสาธิตเมนูอาหารที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ/สาธิตการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
250
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถดูแลด้านสุขภาพของตนได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม
2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ และมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
3.ลดการเกิดผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ส่งเสริมผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมให้มีสุขภาพที่แข็งแรง ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
4.ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมออกกำลังกาย
วันที่ 3 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมออกกำลังกาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการร้อยละ 100 แต่เกิดปัญหา/อุปสรรค เนื่องจากสถานการณ์โควิด -19 ทำให้เกิดความล่าช้าในการดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกาย ซึ่งสามารถแก้ปัญหาโดยจัดให้เว้นระยะห่างเมื่อทำกิจกรรม
30
0
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ/กิจกรรมสาธิตเมนูอาหารที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ/สาธิตการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ
วันที่ 18 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
กิจกรรมสาธิตเมนูอาหารที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ
กิจกรรมสาธิตการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการร้อยละ 100 แต่เกิดปัญหา/อุปสรรค เนื่องจากสถานการณ์โควิด -19 ทำให้เกิดความล่าช้าในการดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกาย ซึ่งสามารถแก้ปัญหาโดยจัดใหเว้นระยะห่างเมื่อทำกิจกรรม
40
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการร้อยละ 100 แต่เกิดปัญหา/อุปสรรค เนื่องจากสถานการณ์โควิด -19 ทำให้เกิดความล่าช้าในการดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกาย ซึ่งสามารถแก้ปัญหาโดยจัดให้เว้นระยะห่างเมื่อทำกิจกรรม
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถดูแลด้านสุขภาพของตนได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สูงอายุเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ และมีกิจกรรมส่งเสริมการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เช่น การออกกำลังกาย การนั่งสมาธิ การผ่อนคลายความเครียดที่ถูกวิธี ฯลฯ
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดผลผลิต (Outputs) ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ได้
80.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
250
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
250
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถดูแลด้านสุขภาพของตนได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สูงอายุเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ และมีกิจกรรมส่งเสริมการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เช่น การออกกำลังกาย การนั่งสมาธิ การผ่อนคลายความเครียดที่ถูกวิธี ฯลฯ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมออกกำลังกาย (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ/กิจกรรมสาธิตเมนูอาหารที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ/สาธิตการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสูงวัย สดใส ใจเกินร้อย (ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านบ่อทราย) จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L000-2-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางประดับ เขมะชัยเวช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสูงวัย สดใส ใจเกินร้อย (ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านบ่อทราย) ”
ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางประดับ เขมะชัยเวช
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L000-2-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสูงวัย สดใส ใจเกินร้อย (ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านบ่อทราย) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัย สดใส ใจเกินร้อย (ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านบ่อทราย)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสูงวัย สดใส ใจเกินร้อย (ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านบ่อทราย) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L000-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นบุคคล ที่สถาบันครอบครัวไทยให้การเคารพยกย่องมากที่สุด เพราะเป็นบุคคลที่มีประสบการณ์ในชีวิตสูง เป็นผู้ถ่ายทอดความสามารถ ประเพณี วัฒนธรรมและค้ำจุนจิตใจ ให้แก่บุคคลในครอบครัว ชุมชน และสังคม ได้อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด
แต่ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยจะสูญเสียความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันความสามารถเสื่อมถอย ต้องอาศัยญาติและครอบครัวคอยดูแล ทำให้เป็นภาระ ผลกระทบต่อภาวะทุพพลภาพในผู้สูงอายุเกิดจากกระบวนการการสูงวัยและโรคต่าง ๆมากมายทำให้เกิดปัญหา ทั้งด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต เศรษฐกิจ สังคม ปัญหาเกี่ยวกับครอบครัว และปัญหา ค่านิยมที่เปลี่ยนแปลง เป็นกลุ่มประชากรที่ใช้บริการสุขภาพสูงกว่าวัยอื่นๆ และจะต้องใช้จ่ายงบประมาณของประเทศในด้านการรักษาพยาบาลสูง
ผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ รพ.สต บ้านบ่อทราย ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง ทั้งหมด 501 คน จากการสำรวจสภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุในเขต รพ.สต.บ้านบ่อทราย พบว่า ผู้สูงอายุเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน จำนวน 83 คน คิดเป็นร้อยละ 16.57โรคความดันโลหิตสูงจำนวน 216คนคิดเป็นร้อยละ 43.11 ปัญหาเรื่องสุขภาพช่องปาก จำนวน 138 คน คิดเป็นร้อยละ 27.54 ภาวะซึมเศร้า จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 3.39 และเขาเสื่อม จำนวน 135 คน คิดเป็นร้อยละ 26.95 การได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ และการออกกำลังกายอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอจะสามารถป้องกันและแก้ไขภาวะผิดปกติที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูกปัญหาสุขภาพร่างกาย รวมทั้งปัญหาสุขภาพจิต ช่วยให้อายุยืนยาวขึ้น และมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบรูณ์แข็งแรง
อย่างไรก็ตามการมารับความรู้ในโรงเรียนผู้สูงอายุ พร้อมกับการออกกำลังกายนี้จำเป็นต้องจัดให้เหมาะสมกับร่างกาย เช่น เพศ และความแข็งแรงที่มีอยู่ เนื่องจากการออกกำลังกายมากเกินไป หรือหักโหมจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายได้ การออกกำลังกายเป็นประจำจึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับผู้สูงอายุเพราะนอกจากจะช่วยป้องกันการเสื่อมโทรมของร่างกายแล้วยังสามารถแก้ไขความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นแล้วได้ด้วยการออกกำลังกาย
ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สตบ้านบ่อทราย ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมให้สมาชิกในชมรมผู้สูงอายุจึงได้จัดทำโครงการสูงวัยสดใสใจเกินร้อยขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและสุขภาพจิตใจที่ดี ไม่ให้เป็นภาระแก่ครอบครัว ชุมชนและสังคมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถดูแลด้านสุขภาพของตนได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สูงอายุเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ และมีกิจกรรมส่งเสริมการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เช่น การออกกำลังกาย การนั่งสมาธิ การผ่อนคลายความเครียดที่ถูกวิธี ฯลฯ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมออกกำลังกาย
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ/กิจกรรมสาธิตเมนูอาหารที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ/สาธิตการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 250 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถดูแลด้านสุขภาพของตนได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม 2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ และมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 3.ลดการเกิดผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ส่งเสริมผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมให้มีสุขภาพที่แข็งแรง ไม่มีภาวะแทรกซ้อน 4.ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมออกกำลังกาย |
||
วันที่ 3 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำกิจกรรมออกกำลังกาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการร้อยละ 100 แต่เกิดปัญหา/อุปสรรค เนื่องจากสถานการณ์โควิด -19 ทำให้เกิดความล่าช้าในการดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกาย ซึ่งสามารถแก้ปัญหาโดยจัดให้เว้นระยะห่างเมื่อทำกิจกรรม
|
30 | 0 |
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ/กิจกรรมสาธิตเมนูอาหารที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ/สาธิตการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ |
||
วันที่ 18 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ กิจกรรมสาธิตเมนูอาหารที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ กิจกรรมสาธิตการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการร้อยละ 100 แต่เกิดปัญหา/อุปสรรค เนื่องจากสถานการณ์โควิด -19 ทำให้เกิดความล่าช้าในการดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกาย ซึ่งสามารถแก้ปัญหาโดยจัดใหเว้นระยะห่างเมื่อทำกิจกรรม
|
40 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการร้อยละ 100 แต่เกิดปัญหา/อุปสรรค เนื่องจากสถานการณ์โควิด -19 ทำให้เกิดความล่าช้าในการดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกาย ซึ่งสามารถแก้ปัญหาโดยจัดให้เว้นระยะห่างเมื่อทำกิจกรรม
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถดูแลด้านสุขภาพของตนได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สูงอายุเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ และมีกิจกรรมส่งเสริมการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เช่น การออกกำลังกาย การนั่งสมาธิ การผ่อนคลายความเครียดที่ถูกวิธี ฯลฯ ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดผลผลิต (Outputs) ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ได้ |
80.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 250 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 250 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถดูแลด้านสุขภาพของตนได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สูงอายุเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ และมีกิจกรรมส่งเสริมการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เช่น การออกกำลังกาย การนั่งสมาธิ การผ่อนคลายความเครียดที่ถูกวิธี ฯลฯ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมออกกำลังกาย (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ/กิจกรรมสาธิตเมนูอาหารที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ/สาธิตการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสูงวัย สดใส ใจเกินร้อย (ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านบ่อทราย) จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L000-2-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางประดับ เขมะชัยเวช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......