กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลละหาร ปี 2563
รหัสโครงการ 63-L2499-4-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานเลขาฯกองทุน
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 83,990.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวณัฐพรคงแสน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลละหาร อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.396,101.745place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (83,990.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นกลไกสำคัญต่อความสำเร็จของการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เพราะคณะกรรมการเป็นบุคคลสำคัญในการประสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาชนที่จะทำให้เกิดการทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุนและเรียนรู้ร่วมกันพัฒนาการดำเนินงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดีทั้งกายและใจ ดังนั้นคณะกรรมการจึงควรได้รับการพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการกองทุนมีความรู้ความความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ มีวิสัยทัศน์มีทัศนคติเชิงบวกต่อการดำเนินงานของกองทุนเห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชนให้โอกาสในการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนอย่างเสมอภาคเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นร่วมตัดสินใจมีการตรวจสอบและให้เข้าร่วมกิจกรรมได้อย่างเท่าเทียมกันซึ่งสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้กำหนดโครงสร้างของคณะกรรมการให้ทุกภาคส่วนในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมบริหารจัดการอยู่แล้วคณะกรรมการทุกคนจึงควรมีเจตคติความเข้าใจที่มุ่งสู่เป้าหมายเดียวกันคือทำให้ประชาชนทุกคนในพื้นที่มีคุณภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจอย่างยั่งยืน คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตำบลละหาร ควรจัดให้มีการอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจและการประชุมสัมมนาและการศึกษาแลกเปลี่ยนความรู้ในเรื่องต่างๆได้แก่ 1.การสร้างกระบวนการการมีส่วนร่วมในการทำงานการสร้างจิตสำนึก 2.การทำงานเป็นทีมและการสร้างผู้นำ 3.การสร้างเสริมสุขภาพในทุกกลุ่มอายุ 4.การป้องกันโรคติดต่อและไม่ติดต่อ 5.การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ 6.ระบบการบริหารจัดการที่ดีมีธรรมาภิบาลยึดระบบคุณธรรม 7.อบรมการบันทึกโปรแกรมข้อมูลกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 8.การจัดทำแผนทางเดินยุทธศาสตร์แผนสุขภาพชุมชน 9.การวิเคราะห์ข้อมูลการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา 10.การเขียนโครงการและการติดตามประเมินผลโครงการ เป็นต้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
  • มีการใช้เงินในการพัฒนาศักยภาพ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ
  • มีการจัดทำแผนงานกองทุน
0.00
2 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
  • กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %
  • กองทุนสุขภาพตำบลสามารถออกเงินสนับสนุนโครงการแก่ผู้รับทุน ภายใน เดือน ม.ค. จำนวนร้อยละ 60 และภายใน เดือน ก.ค.61 ร้อยละ 90
0.00
3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

จำนวนเงินที่สนับสนุนโครงการแก่กลุ่มประชาชน หรือองค์กรประชาชน เพิ่มขึ้น

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 86 70,381.00 0 0.00
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 จัดประชุมคณะกรรมการกองทุน 18 32,760.00 -
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 จัดประชุมอนุกรรมการกองทุนฯ 8 5,680.00 -
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 จัดประชุมอนุกรรมการ LTC 10 14,200.00 -
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 จัดอบรมให้ความรู้คณะกรรมการ/อนุกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ LTC และผู้ที่เกียวข้อง 50 1,741.00 -
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 ค่าวัสดุ/คุรุภัณฑ์ 0 16,000.00 -

1.ประชุมผู้เกี่ยวข้อง 2.ขออนุมัติโครงการและงบประมาณ 3.ดำเนินการจัดโครงการและกิจกรรม 4.สรุปและประเมินผลโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการทำแผนที่ยุทธศาสตร์หรือแผนสุขภาพชุมชนมาเป็นเครื่องมือบริหารจัดการ 2.คณะกรรมการฯสามารถเข้าใจในการบริหารกองทุนฯได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.เกิดการประชุมสัมพันธ์และการเน้นการมีส่วนร่วมและดำเนินงานร่วมกันแบบบูรณาการ 4.เกิดการติดตามผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ม.ค. 2563 12:07 น.