กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปรางเหนือ


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ประจำปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางพีรดา ปานแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ประจำปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1519-2-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปรางเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ประจำปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ประจำปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1519-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปรางเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ Non-Communicable diseases: NCDs ที่เกิดจากความผิดปกติของร่างกายที่มีการผลิตฮอร์โมนอินซูลิน ไม่เพียงพอหรือร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง สำหรับองค์การอนามัยโลก (WHO) รายงานว่าจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานทั่วโลกเพิ่มขึ้นจาก 108 ล้านคน ในปี 2523 เป็น 422 ล้านคนในปี 2557 และพบผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นในประเทศที่มีรายได้ต่ำและปานกลาง อีกทั้งยังพบว่าปี 2559 มีจำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวาน 1.5 ล้านคน และอีก 2.2 ล้านคนเสียชีวิตเนื่องจากน้ำตาล  ในเลือดสูง และจากข้อมูลสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยรายงานสถานการณ์โรคเบาหวานในภาคพื้นแปซิฟิก (Western Pacific) ในปี พ.ศ. 2560 ประเทศไทย มีผู้ที่เป็นเบาหวานมากถึง 4.4 ล้านคน จัดเป็นอันดับ 4 รองจาก จีน อินเดีย ญี่ปุ่น ซึ่งคาดการณ์ว่า ในปี 2583 ยอดผู้ป่วยโรคเบาหวานจะเพิ่มขึ้นเป็น 642 ล้านคน โดยมียอดผู้เสียชีวิตด้วยโรคเบาหวานเฉลี่ยปีละกว่า 8,000 คน และพบว่าคนรุ่นใหม่มีโอกาสเป็นเบาหวานสูงขึ้นจากพฤติกรรม การดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป ที่สำคัญคือมีคนไทยมากถึง 2 ล้านคนที่เป็นเบาหวานแต่ไม่ทราบและยังไม่เข้าถึง การรักษา และยังมีอีก 7.7 ล้านคนที่อยู่ในภาวะกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวานหากประชาชนกลุ่มเสี่ยงไม่สนใจดูแลสุขภาพตั้งแต่ระยะเริ่มแรกจะนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ทำให้การทำงานของระบบหัวใจ หลอดเลือด ตา ไตและเส้นประสาทบกพร่องและอาจเกิดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร
จากข้อมูล Health Data Center (HDC) พบว่า ปี 2559-2561 อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานของจังหวัดตรัง      มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น คือ ร้อยละ 4.68, 4.81 และ 5.04 ตามลำดับ และการควบคุมสภาวะโรคในผู้ป่วยโรคเบาหวาน      จากข้อมูล Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 พบว่า ภาพรวมจังหวัดตรังมีผู้ป่วยเบาหวาน 25,768 คน ได้รับการตรวจ HbA1C ร้อยละ 61.42 จำแนกรายอำเภออยู่ระหว่าง ร้อยละ 41.97 – 89.11            โดยอำเภอที่มีความครอบคลุมการตรวจ สูงที่สุด คือ อำเภอห้วยยอด หาดสำราญ กันตัง ปะเหลียน นาโยง ย่านตาขาว    วังวิเศษ สิเกา รัษฎา และเมือง ตามลำดับ และผลงานการควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ภาพรวมจังหวัดตรัง ร้อยละ 20.91 จำแนกรายอำเภออยู่ระหว่าง ร้อยละ 14.37 – 31.89 โดยอำเภอที่มีความครอบคลุมการตรวจ สูงที่สุด คือ          อำเภอนาโยง รองลงมาคือ อำเภอหาดสำราญ วังวิเศษ ย่านตาขาว ห้วยยอด กันตัง รัษฎา สิเกา เมือง และปะเหลียน (ข้อมูลถึงวันที่ 2 มิถุนายน 2562) จากการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ในปี 2558 ถึง 2562 พบว่ามีร้อยละ 2.71, 5.14, 3.46, 2.95, 2.99 ตามลำดับ ในประชากร 35 ปีขึ้นไป ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ข้อมูลจาก Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสุขร่วมกับเครือข่ายสาธารณสุขและองค์กรเอกชน กระตุ้นและสนับสนุนการคัดกรองโรคเบาหวานในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก (WHO) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในทุกช่วงวัย โดยการพัฒนาและจัดการความรู้ สนับสนุนให้เกิดการจัดสิ่งแวดล้อมทางกฎหมายและทางสังคม และเพิ่มปัจจัยเสริมด้านอาหารเพื่อสุขภาวะ และการเพิ่มกิจกรรมทางกาย ขยายแนวคิดความรอบรู้ด้านสุขภาพให้เหมาะสมตามกลุ่มวัย ตั้งแต่วัยเด็ก เยาวชน วัยทำงาน ผู้สูงวัย ตลอดจนประชากรกลุ่มเฉพาะ เช่น ผู้พิการ กลุ่มสถานะบุคคล เพื่อขับเคลื่อนให้ประชาชนเกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพเกิดการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมสุขภาวะ ขับเคลื่อนงานลงสู่พื้นที่เป้าหมาย
ดังนั้นผู้จัดทำจึงเห็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนไทย ที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆโดยเฉพาะกลุ่มประชากรเพศหญิง ซึ่งมีปัจจัยมาจากพฤติกรรมการดำรงชีวิตและ มีปัจจัยด้านพันธุกรรมเข้ามาเกี่ยวเนื่องด้วย ซึ่งปัจจัยด้านพันธุกรรมเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ยากแต่สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ ผู้จัดทำ        มีความประสงค์จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพประชาชนที่เสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ให้มีจำนวนประชากรที่ลดลงโดย      การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เป็นปัจจัยของการเกิดโรคเบาหวาน ซึ่งผู้จัดทำมีความประสงค์ดำเนินการจัดกิจกรรมในกลุ่มประชาชนที่ผ่านการตรวจคัดกรองในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลวังวิเศษ ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง โดยเจาะจงกลุ่มประชาชนช่วงอายุ 35 ปีขึ้นไป เพื่อลดอัตราการเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน เนื่องจากเป็นกลุ่มประชาชนที่เสี่ยง ต่อการเป็นโรคเบาหวานในอนาคตมากที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
  2. เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปจำนวน 40 คน ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ประจำปีงบประมาณ 2563

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถรถลดระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์ ที่ปกติ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
30.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปจำนวน 40 คน ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ประชาชนได้รับการคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวาน
30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น (2) เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปจำนวน 40 คน ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน    ประจำปีงบประมาณ 2563

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1519-2-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพีรดา ปานแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด