โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ”
โรงเรียนบ้านบ่อหิน ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายธีระชัย ทีปรักษพันธ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว
สิงหาคม 2563
ชื่อโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านบ่อหิน ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-l5310-2-3 เลขที่ข้อตกลง 19/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านบ่อหิน ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านบ่อหิน ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-l5310-2-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กุมภาพันธ์ 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตมีการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์และการอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อาหารเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้วัยเด็กได้รับการพัฒนาที่ดีมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง รวมทั้งการออกกำลังกาย การดูแลความสะอาดของร่างกายการป้องกันตนเองจากการเกิดโรคติดต่อ หลักเลี่ยงสิ่งเสพติดให้โทษ เพื่อให้นักเรียนซึ่งอยู่ในวัยที่กำลังเจริญเติบโตได้มีความรู้ความเข้าใจเห็นคุณค่าในการดูแลสุขภาพของตนเองที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย นำไปปฏิบัติได้เองในชีวิตประจำวันและเป็นแบบอย่างให้กับคนในครอบครัวและชุมชนในโอกาสต่อไปได้
ซึ่งทางโรงเรียนบ้านบ่อหินจะดำเนินทำโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นโครงการที่มุ่งเน้นการพัฒนาสุขภาพ นักเรียนแบบองค์รวม ภายใต้แนวคิดการมีส่วนร่วมของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน รวมทั้งผู้ปกครองและชุมชน เพื่อให้โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์รวมของการพัฒนาสุขภาพในชุมชน ซึ่งการดำเนินการในปีที่ผ่านมาโรงเรียนได้ร่วมมือกับองค์การบริหารส่วนตำบลดำเนินการโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้วยสุขบัญญัติ ๑๐ ประการ และสามารถพัฒนากิจกรรมด้านสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านบ่อหินจะดำเนินการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนตามตัวชี้วัด และโรงเรียนจะเน้นกระบวนการของกิจกรรมให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่เน้นการวัดผลทางสุขภาพและพฤติกรรมของนักเรียน ซึ่งการดำเนินการพัฒนากิจกรรมด้านสุขภาพให้บรรลุตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพได้นั้นโรงเรียนจะต้องได้รับความร่วมมือ และสนับสนุนจากชุมชนและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเรื่องยาสามัญประจำบ้านและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เด็กปฐมวัยและประถมศึกษามีความเข้าใจการใช้ยาสามัญประจำบ้านและปฐมพยาบาลเบื้องต้นร้อยละ ๙๐
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อ ภาวะทุพโภชนาการ
- เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพฟันที่แข็งแรง รับประทานผักที่ปลอดภัย
- เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาของโรงเรียน ด้วยสมุนไพร
- เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นอาหารได้
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการการปฐมพยาบาลและการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างถูกวิธี
- เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน
- รอยยิ้มสดใสเด็กไทยฟันดี (บ่อหินสวยใส)
- สุขาน่าใช้
- ครัวปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
280
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพแข็งแรง
- เด็กนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
- มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยและประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ
- นักเรียนระดับปฐมวัยและประถมศึกษามีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาโรงเรียน
- นักเรียนและผู้ปกครองได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปอาหารได้
- นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคผักที่ปลอดภัยไร้สารเคมีได้อย่างถูกต้อง
ลงชื่อ .............................................ผู้เสนอโครงการ
(................................................)
ตำแหน่ง .......................................
วันที่-เดือน-พ.ศ.................................
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. สุขาน่าใช้
วันที่ 1 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
สุขาน่าใช้
- ทำป้ายประชาสัมพันธ์/สื่อ/รณรงค์การใช้ห้องส้วมอย่างถูกวิธีเป็นเงิน 2,000 บาท
- การเรียนรู้การผลิตน้ำยางล้างห้องน้ำจากสมุนไพรใกล้ตัวพร้อมอุปกรณ์ เป็นเงิน 2,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
มีห้องน้ำที่สะอาด น่าใช้
ผลลัพธ์
นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจตระหนักถึงอันตรายการใช้ห้องน้ำที่สกปรก นักเรียนมีพฤติกรรมการใช้ห้องน้ำที่ถูกสุขลักษณะ เสริมสร้างสุขนิสัยการใช้ห้องน้ำที่ดี
0
0
2. ครัวปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ
วันที่ 25 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ครัวปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ
- เชิญวิทยากรจากเกษตรอำเภอละงู มาให้ความรู้ในการปลูกพืชแบบเกษตรอินทรีย์หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีและการป้องโรค จำนวน 2 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
- ป้ายไวนิลโครงการ(กิจกรรมครัวปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ) จำนวน 1 แผ่น แผ่นละ 500 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 25 บาท จำนวน 90 คน เป็นเงิน 2,250 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีความรู้ในการปลูกผักแบบเกษตรอินทรีย์และการเฝ้าระวังการป้องกันแพร่ระบาดของโรคชนิดต่างๆ และนำเอาความรู้ที่ได้ในการเรียนรู้ในวันนี้นำกลับไปขยายผลต่อผู้ปกครองเพื่อนำไปใช้ในการกำจัดศัตรูพืชเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี
90
0
3. รอยยิ้มสดใสเด็กไทยฟันดี (บ่อหินสวยใส)
วันที่ 28 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ
รอยยิ้มสดใสเด็กไทยฟันดี (บ่อหินสวยใส)
- จัดทำป้ายให้ความรู้การแปรงฟันถูกวิธี จำนวน 4 ป้าย ป้ายละ 500 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
- เชิญวิทยากร รพ.สต.เขาขาว ให้ความรู้การดูแลช่องปากและฟันแท้ จำนวน 2 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 25 บาท จำนวน 90 คน เป็นเงิน 2,250 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันแท้ โดยได้ลงมือปฏิบัติและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกันกับเพื่อนๆ โดยมีทันตแพทย์ช่วยดูแลให้ความรู้ พร้อมทั้งให้นักเรียนได้ลงมือปกิบัติในการแปรงฟันที่ถูกต้อง การแปรงอย่างถูกวิธี
90
0
4. เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน
วันที่ 26 ธันวาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรให้ความรู้ จำนวน 3 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 75 บาท จำนวน 40 คน เป็นเงิน 3,000 บาท
3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท จำนวน 40 คน เป็นเงิน 2,000 บาท
4. ค่าวัสดุอุปกรณ์ประกอบการอบรมแฟ้ม สมุด ปากกา ฯลฯ จำนวน 40 คน คนละ 20 บาท เป็นเงิน 800 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียน ครู ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการน้้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน) นักเรียนมีทักษะในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และปริมาณเหมาะสมกับร่างกาย นักเรียนครูและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์และป้องกันโรคอ้วนในวัยเด็ก
40
0
5. อบรมเชิงปฏิบัติการการปฐมพยาบาลและการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างถูกวิธี
วันที่ 27 ธันวาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
อบรมเชิงปฏิบัติการการปฐมพยาบาลและการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างถูกวิธี
- ค่าตอบแทนวิทยากร 4 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 75 บาท จำนวน 60 คน เป็นเงิน 4,500 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท จำนวน 60 คน เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าป้ายไวนิลโครงการ/ป้ายความรู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลและใช้ยาสามัญประจำบ้านจำนวน 5 แผ่น แผ่นละ 500 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ประกอบการอบรมแฟ้ม สมุด ปากกา ฯลฯ จำนวน 60 คน คนละ 20 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้เรียนรู้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ควบคู่การใช้ยาสามัญประจำบ้านเพิ่มขึ้น
60
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเรื่องยาสามัญประจำบ้านและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เด็กปฐมวัยและประถมศึกษามีความเข้าใจการใช้ยาสามัญประจำบ้านและปฐมพยาบาลเบื้องต้นร้อยละ ๙๐
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยและประถมศึกษามีความเข้าใจการใช้ยาสามัญประจำบ้านและปฐมพยาบาลเบื้องต้นร้อยละ ๙๐
90.00
2
เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อ ภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ ๘๐ มีภาวะโภชนาการสมส่วน
80.00
3
เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพฟันที่แข็งแรง รับประทานผักที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : นักเรียนระดับชั้นปฐมวัยและชั้นประถมศึกษา ร้อยละ ๙๐ มีสุขภาพฟันที่ดี
90.00
4
เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาของโรงเรียน ด้วยสมุนไพร
ตัวชี้วัด : * ร้อยละ ๘๕ ของนักเรียนมีพฤติกรรมการใช้ส้วมถูกสุขลักษณะและสุขนิสัย
* ร้อยละ ๘๐ ของนักเรียนมีจิตสำนึก การมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องส้วม
* โรงเรียนสามารถดำเนินการพัฒนาห้องส้วมให้สะอาด สวยงาม น่าใช้
80.00
5
เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นอาหารได้
ตัวชี้วัด : * นักเรียนและผู้ปกครองร้อยละ ๙๐ มีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร
* นักเรียนและผู้ปกครองร้อยละ ๘๐ สามารถแปรรูปอาหารจากสมุนไพรได้
90.00
6
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน)
ตัวชี้วัด : นักเรียน คณะครูและผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน)
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
280
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
280
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเรื่องยาสามัญประจำบ้านและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เด็กปฐมวัยและประถมศึกษามีความเข้าใจการใช้ยาสามัญประจำบ้านและปฐมพยาบาลเบื้องต้นร้อยละ ๙๐ (2) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อ ภาวะทุพโภชนาการ (3) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพฟันที่แข็งแรง รับประทานผักที่ปลอดภัย (4) เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาของโรงเรียน ด้วยสมุนไพร (5) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นอาหารได้ (6) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการการปฐมพยาบาลและการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างถูกวิธี (2) เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน (3) รอยยิ้มสดใสเด็กไทยฟันดี (บ่อหินสวยใส) (4) สุขาน่าใช้ (5) ครัวปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-l5310-2-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายธีระชัย ทีปรักษพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ”
โรงเรียนบ้านบ่อหิน ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายธีระชัย ทีปรักษพันธ์
สิงหาคม 2563
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านบ่อหิน ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-l5310-2-3 เลขที่ข้อตกลง 19/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านบ่อหิน ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านบ่อหิน ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-l5310-2-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กุมภาพันธ์ 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตมีการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์และการอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อาหารเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้วัยเด็กได้รับการพัฒนาที่ดีมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง รวมทั้งการออกกำลังกาย การดูแลความสะอาดของร่างกายการป้องกันตนเองจากการเกิดโรคติดต่อ หลักเลี่ยงสิ่งเสพติดให้โทษ เพื่อให้นักเรียนซึ่งอยู่ในวัยที่กำลังเจริญเติบโตได้มีความรู้ความเข้าใจเห็นคุณค่าในการดูแลสุขภาพของตนเองที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย นำไปปฏิบัติได้เองในชีวิตประจำวันและเป็นแบบอย่างให้กับคนในครอบครัวและชุมชนในโอกาสต่อไปได้ ซึ่งทางโรงเรียนบ้านบ่อหินจะดำเนินทำโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นโครงการที่มุ่งเน้นการพัฒนาสุขภาพ นักเรียนแบบองค์รวม ภายใต้แนวคิดการมีส่วนร่วมของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน รวมทั้งผู้ปกครองและชุมชน เพื่อให้โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์รวมของการพัฒนาสุขภาพในชุมชน ซึ่งการดำเนินการในปีที่ผ่านมาโรงเรียนได้ร่วมมือกับองค์การบริหารส่วนตำบลดำเนินการโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้วยสุขบัญญัติ ๑๐ ประการ และสามารถพัฒนากิจกรรมด้านสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านบ่อหินจะดำเนินการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนตามตัวชี้วัด และโรงเรียนจะเน้นกระบวนการของกิจกรรมให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่เน้นการวัดผลทางสุขภาพและพฤติกรรมของนักเรียน ซึ่งการดำเนินการพัฒนากิจกรรมด้านสุขภาพให้บรรลุตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพได้นั้นโรงเรียนจะต้องได้รับความร่วมมือ และสนับสนุนจากชุมชนและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเรื่องยาสามัญประจำบ้านและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เด็กปฐมวัยและประถมศึกษามีความเข้าใจการใช้ยาสามัญประจำบ้านและปฐมพยาบาลเบื้องต้นร้อยละ ๙๐
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อ ภาวะทุพโภชนาการ
- เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพฟันที่แข็งแรง รับประทานผักที่ปลอดภัย
- เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาของโรงเรียน ด้วยสมุนไพร
- เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นอาหารได้
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการการปฐมพยาบาลและการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างถูกวิธี
- เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน
- รอยยิ้มสดใสเด็กไทยฟันดี (บ่อหินสวยใส)
- สุขาน่าใช้
- ครัวปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 280 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพแข็งแรง
- เด็กนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
- มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยและประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ
- นักเรียนระดับปฐมวัยและประถมศึกษามีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาโรงเรียน
- นักเรียนและผู้ปกครองได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปอาหารได้
- นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคผักที่ปลอดภัยไร้สารเคมีได้อย่างถูกต้อง
ลงชื่อ .............................................ผู้เสนอโครงการ
(................................................)
ตำแหน่ง .......................................
วันที่-เดือน-พ.ศ.................................
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. สุขาน่าใช้ |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำสุขาน่าใช้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต มีห้องน้ำที่สะอาด น่าใช้ ผลลัพธ์ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจตระหนักถึงอันตรายการใช้ห้องน้ำที่สกปรก นักเรียนมีพฤติกรรมการใช้ห้องน้ำที่ถูกสุขลักษณะ เสริมสร้างสุขนิสัยการใช้ห้องน้ำที่ดี
|
0 | 0 |
2. ครัวปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ |
||
วันที่ 25 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำครัวปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีความรู้ในการปลูกผักแบบเกษตรอินทรีย์และการเฝ้าระวังการป้องกันแพร่ระบาดของโรคชนิดต่างๆ และนำเอาความรู้ที่ได้ในการเรียนรู้ในวันนี้นำกลับไปขยายผลต่อผู้ปกครองเพื่อนำไปใช้ในการกำจัดศัตรูพืชเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี
|
90 | 0 |
3. รอยยิ้มสดใสเด็กไทยฟันดี (บ่อหินสวยใส) |
||
วันที่ 28 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำรอยยิ้มสดใสเด็กไทยฟันดี (บ่อหินสวยใส)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้เรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันแท้ โดยได้ลงมือปฏิบัติและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกันกับเพื่อนๆ โดยมีทันตแพทย์ช่วยดูแลให้ความรู้ พร้อมทั้งให้นักเรียนได้ลงมือปกิบัติในการแปรงฟันที่ถูกต้อง การแปรงอย่างถูกวิธี
|
90 | 0 |
4. เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน |
||
วันที่ 26 ธันวาคม 2563กิจกรรมที่ทำเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน 1. ค่าตอบแทนวิทยากรให้ความรู้ จำนวน 3 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท 2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 75 บาท จำนวน 40 คน เป็นเงิน 3,000 บาท 3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท จำนวน 40 คน เป็นเงิน 2,000 บาท 4. ค่าวัสดุอุปกรณ์ประกอบการอบรมแฟ้ม สมุด ปากกา ฯลฯ จำนวน 40 คน คนละ 20 บาท เป็นเงิน 800 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียน ครู ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการน้้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน) นักเรียนมีทักษะในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และปริมาณเหมาะสมกับร่างกาย นักเรียนครูและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์และป้องกันโรคอ้วนในวัยเด็ก
|
40 | 0 |
5. อบรมเชิงปฏิบัติการการปฐมพยาบาลและการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างถูกวิธี |
||
วันที่ 27 ธันวาคม 2563กิจกรรมที่ทำอบรมเชิงปฏิบัติการการปฐมพยาบาลและการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างถูกวิธี
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้เรียนรู้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ควบคู่การใช้ยาสามัญประจำบ้านเพิ่มขึ้น
|
60 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเรื่องยาสามัญประจำบ้านและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เด็กปฐมวัยและประถมศึกษามีความเข้าใจการใช้ยาสามัญประจำบ้านและปฐมพยาบาลเบื้องต้นร้อยละ ๙๐ ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยและประถมศึกษามีความเข้าใจการใช้ยาสามัญประจำบ้านและปฐมพยาบาลเบื้องต้นร้อยละ ๙๐ |
90.00 |
|
||
2 | เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อ ภาวะทุพโภชนาการ ตัวชี้วัด : นักเรียนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ ๘๐ มีภาวะโภชนาการสมส่วน |
80.00 |
|
||
3 | เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพฟันที่แข็งแรง รับประทานผักที่ปลอดภัย ตัวชี้วัด : นักเรียนระดับชั้นปฐมวัยและชั้นประถมศึกษา ร้อยละ ๙๐ มีสุขภาพฟันที่ดี |
90.00 |
|
||
4 | เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาของโรงเรียน ด้วยสมุนไพร ตัวชี้วัด : * ร้อยละ ๘๕ ของนักเรียนมีพฤติกรรมการใช้ส้วมถูกสุขลักษณะและสุขนิสัย * ร้อยละ ๘๐ ของนักเรียนมีจิตสำนึก การมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องส้วม * โรงเรียนสามารถดำเนินการพัฒนาห้องส้วมให้สะอาด สวยงาม น่าใช้ |
80.00 |
|
||
5 | เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นอาหารได้ ตัวชี้วัด : * นักเรียนและผู้ปกครองร้อยละ ๙๐ มีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร * นักเรียนและผู้ปกครองร้อยละ ๘๐ สามารถแปรรูปอาหารจากสมุนไพรได้ |
90.00 |
|
||
6 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน) ตัวชี้วัด : นักเรียน คณะครูและผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน) |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 280 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 280 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเรื่องยาสามัญประจำบ้านและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เด็กปฐมวัยและประถมศึกษามีความเข้าใจการใช้ยาสามัญประจำบ้านและปฐมพยาบาลเบื้องต้นร้อยละ ๙๐ (2) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อ ภาวะทุพโภชนาการ (3) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพฟันที่แข็งแรง รับประทานผักที่ปลอดภัย (4) เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาของโรงเรียน ด้วยสมุนไพร (5) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นอาหารได้ (6) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการการปฐมพยาบาลและการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างถูกวิธี (2) เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน (3) รอยยิ้มสดใสเด็กไทยฟันดี (บ่อหินสวยใส) (4) สุขาน่าใช้ (5) ครัวปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-l5310-2-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายธีระชัย ทีปรักษพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......