กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว


“ โครงการ 5 กลุ่มวัยใส่ใจสุขภาพ(ชมรม อสม.หมู่ที่ 8) ”

ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายคณิตย์ แท่นจันทร์

ชื่อโครงการ โครงการ 5 กลุ่มวัยใส่ใจสุขภาพ(ชมรม อสม.หมู่ที่ 8)

ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L000-2-21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ 5 กลุ่มวัยใส่ใจสุขภาพ(ชมรม อสม.หมู่ที่ 8) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ 5 กลุ่มวัยใส่ใจสุขภาพ(ชมรม อสม.หมู่ที่ 8)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ 5 กลุ่มวัยใส่ใจสุขภาพ(ชมรม อสม.หมู่ที่ 8) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L000-2-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 500 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หมู่ที่ 8 ต.บ้านพร้าว มีจำนวนประชากรทั้งหมด 1,117 คน แยกเป็นเพศชาย 537 คน เพศหญิง 580 คน ในจำนวนดังกล่าวประกอบด้วย ประชากรกลุ่มเด็ก 0-6 ปี จำนวน 141 คน ,วัยรุ่น จำนวน212 คน,วัยทำงาน จำนวน 433คน,จำนวนผู้สูงอายุ-ผู้พิการ จำนวน13 คน ซึ่งในกลุ่มประชากรทั้ง 5 กลุ่มนี้จะต้องมีการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ซึ่งมีความจำเป็นที่จะต้องทำตั้งแต่กลุ่มเด็ก 0-6 ปี จนถึงกลุ่มผู้สูงอายุ-ผู้พิการ เพื่อเป็นการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับร่างกายและเป็นการป้องกันโรคที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งโรคส่วนใหญ่ปัจจุบันสาเหตุหลักๆ เกิดจากการมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ปลอดภัย อาหารที่มีสารพิษปนเปื้อน และการมีพฤติกรรมในชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกายที่ไม่เหมาะสมกับช่วงวัย ซึ่งปัจจัยหล่าวนี้ส่งผลต่อการเกิดโรคในอนาคต ซึ่งเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ ไม่ว่าจะเป็นภาวะโภชนาการที่ไม่เหมาะสมในวัยเด็ก 0-6 ปี โรคอ้วน ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมัน หัวใจและหลอดเลือดและโรคมะเร็ง ฉะนั้นแกนนำ อสม. หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านพร้าวจึงได้จัดโครงการ 5 กลุ่มวัยใส่ใจสุขภาพขึ้น เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันการเกิดโรคของประขาชนในหมู่บ้าน เพื่อลดการเกิดโรคที่ป้องกันได้ให้กับประชาชนในหมู่บ้าน อีกทั้งเป็นการลดค่าใช้จ่ายของครัวเรือนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพดี รู้ภาวะสุขภาพของตนเองเพื่อนำไปสู่การป้องกันโรคได้ 2 มีครอบครัวต้นแบบเรื่องสุขภาพเกิดขึ้นในหมู่บ้านเพื่อเป็นแบบอย่างให้ครอบครัวใกล้เคียงได้ปฏิบัติตามและลดการเกิดโรคในอนาคตได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดประชาชนทุกกลุ่มวัย
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  3. กิจกรรมส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ
  4. สำรวจ คัดกรอง ครอบครัวเด็ก 0 - 6 ปี ที่มีภาวะโภชนาการที่ไม่สมวัย
  5. กิจกรรมอบรมการทำเมูสุขภาพจากผักข้างบ้านที่ปลอดสารพิษตกค้าง
  6. กิจกรรมตลาดนัดแลกผักเปลี่ยนปลอดสารพิษ
  7. กิจกรรมประกวครัวเรือนต้นแบบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามารถบริโภคอาหารที่ปลอดภัยเหมาะสมกับช่วงวัยเพื่อป้องกันการเกิดโรค 2. ส่งเสริมการทำเมนูสุขภาพจากผักข้างบ้านให้กับประชาชน เพื่อเป็นการประหยัดและได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง 3. มีครอบครัวต้นแบบเรื่องการผลิตอาหารไว้บริโภคในครัวเรือน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดประชาชนทุกกลุ่มวัย

วันที่ 30 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายตั้งแต่แรกเกิด ถึง6 ปีเพื่อดูแลภาวะโภชนาการที่ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นวัยทำงานและผู้สูงอายุ ที่เข้าร่วมคัดกรองร้อยละ 90 และพบว่ามีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับเจาะสารพิษตกค้างในเลือดผลไม่ปลอดภัยจำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 2 กลุ่มเสี่ยงจำนวน 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 13 กลุ่มปลอดภัยจำนวน 45 ราย คิดเป็นร้อยละ 45 และกลุ่มปกติจำนวน 37 ราย คิดเป็นร้อยละ 37 ทั้งนี้ในกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มไม่ปลอดภัยและกลุ่มเสี่ยง ได้รับความรู้และความเข้าใจ สามารถปรับเปลี่ยนพฟติกรรมที่ถูกต้อง และได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดได้ผลดีขึ้นจำนวน 45 ราย คิดเป้นร้อยละ 89.42 ในส่วนของการผลิตอาหารที่ปลอดภัย ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการสามารถผลิตอาหารที่ไม่มีสารพิษตกค้างไว้บริโภคได้ตลอดทั้งปี และสามารถเป็นครอบครัวต้นแบบกับครัวเรือนอื่นที่มีความตระหนักในการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยเพื่อสุขภาพที่ดีของสามาชิกในครัวเรือน

 

100 0

2. กิจกรรมส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ

วันที่ 4 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายตั้งแต่แรกเกิด ถึง6 ปีเพื่อดูแลภาวะโภชนาการที่ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นวัยทำงานและผู้สูงอายุ ที่เข้าร่วมคัดกรองร้อยละ 90 และพบว่ามีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับเจาะสารพิษตกค้างในเลือดผลไม่ปลอดภัยจำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 2 กลุ่มเสี่ยงจำนวน 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 13 กลุ่มปลอดภัยจำนวน 45 ราย คิดเป็นร้อยละ 45 และกลุ่มปกติจำนวน 37 ราย คิดเป็นร้อยละ 37 ทั้งนี้ในกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มไม่ปลอดภัยและกลุ่มเสี่ยง ได้รับความรู้และความเข้าใจ สามารถปรับเปลี่ยนพฟติกรรมที่ถูกต้อง และได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดได้ผลดีขึ้นจำนวน 45 ราย คิดเป้นร้อยละ 89.42 ในส่วนของการผลิตอาหารที่ปลอดภัย ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการสามารถผลิตอาหารที่ไม่มีสารพิษตกค้างไว้บริโภคได้ตลอดทั้งปี และสามารถเป็นครอบครัวต้นแบบกับครัวเรือนอื่นที่มีความตระหนักในการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยเพื่อสุขภาพที่ดีของสามาชิกในครัวเรือน

 

50 0

3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 4 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ -อบรมให้ความรู้การออกกำลังกายที่เหมาะสม -กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายตั้งแต่แรกเกิด ถึง6 ปีเพื่อดูแลภาวะโภชนาการที่ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นวัยทำงานและผู้สูงอายุ ที่เข้าร่วมคัดกรองร้อยละ 90 และพบว่ามีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับเจาะสารพิษตกค้างในเลือดผลไม่ปลอดภัยจำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 2 กลุ่มเสี่ยงจำนวน 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 13 กลุ่มปลอดภัยจำนวน 45 ราย คิดเป็นร้อยละ 45 และกลุ่มปกติจำนวน 37 ราย คิดเป็นร้อยละ 37 ทั้งนี้ในกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มไม่ปลอดภัยและกลุ่มเสี่ยง ได้รับความรู้และความเข้าใจ สามารถปรับเปลี่ยนพฟติกรรมที่ถูกต้อง และได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดได้ผลดีขึ้นจำนวน 45 ราย คิดเป้นร้อยละ 89.42 ในส่วนของการผลิตอาหารที่ปลอดภัย ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการสามารถผลิตอาหารที่ไม่มีสารพิษตกค้างไว้บริโภคได้ตลอดทั้งปี และสามารถเป็นครอบครัวต้นแบบกับครัวเรือนอื่นที่มีความตระหนักในการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยเพื่อสุขภาพที่ดีของสามาชิกในครัวเรือน

 

50 0

4. สำรวจ คัดกรอง ครอบครัวเด็ก 0 - 6 ปี ที่มีภาวะโภชนาการที่ไม่สมวัย

วันที่ 17 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

สำรวจ คัดกรอง ครอบครัวเด็ก 0 - 6 ปี ที่มีภาวะโภชนาการที่ไม่สมวัย - อบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการให้กับผุ้ปกครอง 0 - 6 ปี ที่ไม่สมวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายตั้งแต่แรกเกิด ถึง6 ปีเพื่อดูแลภาวะโภชนาการที่ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นวัยทำงานและผู้สูงอายุ ที่เข้าร่วมคัดกรองร้อยละ 90 และพบว่ามีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับเจาะสารพิษตกค้างในเลือดผลไม่ปลอดภัยจำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 2 กลุ่มเสี่ยงจำนวน 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 13 กลุ่มปลอดภัยจำนวน 45 ราย คิดเป็นร้อยละ 45 และกลุ่มปกติจำนวน 37 ราย คิดเป็นร้อยละ 37 ทั้งนี้ในกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มไม่ปลอดภัยและกลุ่มเสี่ยง ได้รับความรู้และความเข้าใจ สามารถปรับเปลี่ยนพฟติกรรมที่ถูกต้อง และได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดได้ผลดีขึ้นจำนวน 45 ราย คิดเป้นร้อยละ 89.42 ในส่วนของการผลิตอาหารที่ปลอดภัย ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการสามารถผลิตอาหารที่ไม่มีสารพิษตกค้างไว้บริโภคได้ตลอดทั้งปี และสามารถเป็นครอบครัวต้นแบบกับครัวเรือนอื่นที่มีความตระหนักในการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยเพื่อสุขภาพที่ดีของสามาชิกในครัวเรือน

 

40 0

5. กิจกรรมประกวครัวเรือนต้นแบบ

วันที่ 30 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมประกวดครัวเรือนต้นแบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายตั้งแต่แรกเกิด ถึง6 ปีเพื่อดูแลภาวะโภชนาการที่ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นวัยทำงานและผู้สูงอายุ ที่เข้าร่วมคัดกรองร้อยละ 90 และพบว่ามีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับเจาะสารพิษตกค้างในเลือดผลไม่ปลอดภัยจำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 2 กลุ่มเสี่ยงจำนวน 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 13 กลุ่มปลอดภัยจำนวน 45 ราย คิดเป็นร้อยละ 45 และกลุ่มปกติจำนวน 37 ราย คิดเป็นร้อยละ 37 ทั้งนี้ในกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มไม่ปลอดภัยและกลุ่มเสี่ยง ได้รับความรู้และความเข้าใจ สามารถปรับเปลี่ยนพฟติกรรมที่ถูกต้อง และได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดได้ผลดีขึ้นจำนวน 45 ราย คิดเป้นร้อยละ 89.42 ในส่วนของการผลิตอาหารที่ปลอดภัย ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการสามารถผลิตอาหารที่ไม่มีสารพิษตกค้างไว้บริโภคได้ตลอดทั้งปี และสามารถเป็นครอบครัวต้นแบบกับครัวเรือนอื่นที่มีความตระหนักในการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยเพื่อสุขภาพที่ดีของสามาชิกในครัวเรือน

 

50 0

6. กิจกรรมตลาดนัดแลกผักเปลี่ยนปลอดสารพิษ

วันที่ 30 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมตลาดนัดแลกเปลี่ยนผักปลอดสารพิษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายตั้งแต่แรกเกิด ถึง6 ปีเพื่อดูแลภาวะโภชนาการที่ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นวัยทำงานและผู้สูงอายุ ที่เข้าร่วมคัดกรองร้อยละ 90 และพบว่ามีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับเจาะสารพิษตกค้างในเลือดผลไม่ปลอดภัยจำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 2 กลุ่มเสี่ยงจำนวน 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 13 กลุ่มปลอดภัยจำนวน 45 ราย คิดเป็นร้อยละ 45 และกลุ่มปกติจำนวน 37 ราย คิดเป็นร้อยละ 37 ทั้งนี้ในกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มไม่ปลอดภัยและกลุ่มเสี่ยง ได้รับความรู้และความเข้าใจ สามารถปรับเปลี่ยนพฟติกรรมที่ถูกต้อง และได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดได้ผลดีขึ้นจำนวน 45 ราย คิดเป้นร้อยละ 89.42 ในส่วนของการผลิตอาหารที่ปลอดภัย ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการสามารถผลิตอาหารที่ไม่มีสารพิษตกค้างไว้บริโภคได้ตลอดทั้งปี และสามารถเป็นครอบครัวต้นแบบกับครัวเรือนอื่นที่มีความตระหนักในการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยเพื่อสุขภาพที่ดีของสามาชิกในครัวเรือน

 

50 0

7. กิจกรรมอบรมการทำเมูสุขภาพจากผักข้างบ้านที่ปลอดสารพิษตกค้าง

วันที่ 30 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมการทำเมูสุขภาพจากผักข้างบ้านที่ปลอดสารพิษตกค้าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายตั้งแต่แรกเกิด ถึง6 ปีเพื่อดูแลภาวะโภชนาการที่ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นวัยทำงานและผู้สูงอายุ ที่เข้าร่วมคัดกรองร้อยละ 90 และพบว่ามีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับเจาะสารพิษตกค้างในเลือดผลไม่ปลอดภัยจำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 2 กลุ่มเสี่ยงจำนวน 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 13 กลุ่มปลอดภัยจำนวน 45 ราย คิดเป็นร้อยละ 45 และกลุ่มปกติจำนวน 37 ราย คิดเป็นร้อยละ 37 ทั้งนี้ในกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มไม่ปลอดภัยและกลุ่มเสี่ยง ได้รับความรู้และความเข้าใจ สามารถปรับเปลี่ยนพฟติกรรมที่ถูกต้อง และได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดได้ผลดีขึ้นจำนวน 45 ราย คิดเป้นร้อยละ 89.42 ในส่วนของการผลิตอาหารที่ปลอดภัย ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการสามารถผลิตอาหารที่ไม่มีสารพิษตกค้างไว้บริโภคได้ตลอดทั้งปี และสามารถเป็นครอบครัวต้นแบบกับครัวเรือนอื่นที่มีความตระหนักในการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยเพื่อสุขภาพที่ดีของสามาชิกในครัวเรือน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเินงานบรรลุเป้าหมายแล้ว โดยกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสุขภาพ โดยการวัดความดันโลหิต มีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย ได้มีการคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด เพื่อให้รู้สถภาวะสุขภาพของตนเองและการป้องกันโรคที่อาจตามมาในอนาคต / ส่งเสริมการผลิตอาหารที่ปลอดภัยเพื่อบริโภคในครัวเรือน และที่เหลือจากการบริโภคก็มสามารถแบ่งปันและจำหน่ายให้กับเพื่อนบ้านในชุมชน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพดี รู้ภาวะสุขภาพของตนเองเพื่อนำไปสู่การป้องกันโรคได้ 2 มีครอบครัวต้นแบบเรื่องสุขภาพเกิดขึ้นในหมู่บ้านเพื่อเป็นแบบอย่างให้ครอบครัวใกล้เคียงได้ปฏิบัติตามและลดการเกิดโรคในอนาคตได้
ตัวชี้วัด : - ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 สามารถรับรู้ภาวะสุขภาพของตนเองและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัยของตนเองได้ -ร้อยละ 80 ของประชากรที่เข้าร่วมโครงการมีอาหารที่ปลอดภัยจากสารพิษไว้บริโภคและแบ่งปันให้กับครัวเรือนใกล้เคียงด้วย
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1  เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพดี รู้ภาวะสุขภาพของตนเองเพื่อนำไปสู่การป้องกันโรคได้ 2 มีครอบครัวต้นแบบเรื่องสุขภาพเกิดขึ้นในหมู่บ้านเพื่อเป็นแบบอย่างให้ครอบครัวใกล้เคียงได้ปฏิบัติตามและลดการเกิดโรคในอนาคตได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดประชาชนทุกกลุ่มวัย (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (3) กิจกรรมส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ (4) สำรวจ คัดกรอง ครอบครัวเด็ก 0 - 6 ปี ที่มีภาวะโภชนาการที่ไม่สมวัย (5) กิจกรรมอบรมการทำเมูสุขภาพจากผักข้างบ้านที่ปลอดสารพิษตกค้าง (6) กิจกรรมตลาดนัดแลกผักเปลี่ยนปลอดสารพิษ (7) กิจกรรมประกวครัวเรือนต้นแบบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ 5 กลุ่มวัยใส่ใจสุขภาพ(ชมรม อสม.หมู่ที่ 8) จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L000-2-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายคณิตย์ แท่นจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด