กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการเฝ้าระวังสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร ตำบลบ้านซ่อง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

รายละเอียดโครงการ
รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการเฝ้าระวังสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร ตำบลบ้านซ่อง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
รหัสโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านซ่อง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
วันที่อนุมัติ 30 มิถุนายน 2563
ปี 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 30 มิถุนายน 2563 - 26 กันยายน 2563
งบประมาณ 41,410.00
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางปิยากร เขียวเจริญ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านซ่อง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
ประเด็น
แผนงานอาหารและโภชนาการ
สถานการณ์/หลักการและเหตุผล
  1. ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ ขนาด 80.00
  2. ร้อยละของครัวเรือนเกษตรกรที่ทำเกษตรพันธะสัญญา ขนาด 30.00
  3. ร้อยละพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้) ต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมด ขนาด 60.00
  4. ร้อยละของครัวเรือนที่ทำปศุสัตว์/ประมง ต่อครัวเรือนทั้งหมด ขนาด 30.00
  5. ร้อยละของครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน ขนาด 72.00
  6. ร้อยละของครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์ ขนาด 80.00
  7. ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน ขนาด 10.00
  8. ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ขนาด 36.00
  9. ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ขนาด 8.00
  10. ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ขนาด 2.00
  11. ร้อยละของเด็ก 0-6 เดือนที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ขนาด 40.00
  12. จำนวนโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch ขนาด 10.00
  13. ร้อยละของประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง ขนาด 40.00
  14. ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง ขนาด 7.00
  15. ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม ขนาด 60.00
วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
  1. เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
  2. เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน
  3. ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
  4. ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร
  5. เพิ่มคุณภาพเด็กแรกเกิด
  6. เพิ่มเด็กแรกเกิดที่กินนมแม่
  7. เพิ่มการใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch ในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  8. เพื่อลด ประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง
  9. เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง
  10. เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน
  11. เพิ่มพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้)
  12. เพิ่มครัวเรือนที่ทำปศุสัตว์ ประมง
  13. ลดครัวเรือนเกษตรกรที่ทำเกษตรพันธะสัญญา
  14. เพิ่มครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน
การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ตรวจสารเคมีในเลือดเกษตรกร
  2. การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีในเกษตรกร
  3. การบริโภคอาหารปลอดภัยปราศจากสารเคมี
วิธีดำเนินการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดด้วยแผ่นกระดาษโคลินเอสเตอร์เลส
  2. เกษตรกรที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม 3.เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีระดับสารเคมีในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติและปลอดภัยมีจำนวนเพิ่มขึ้น
  3. เกษตรกรและประชาชน มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม ปลอดภัย ปราสจากสารเคมี