กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี


“ โครงการเกษตรกรใส่ใจดูแลสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค ”

ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางจันทิยา พัทบุรี

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรกรใส่ใจดูแลสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3070-2-2 เลขที่ข้อตกลง 5/63

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรกรใส่ใจดูแลสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรกรใส่ใจดูแลสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรกรใส่ใจดูแลสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3070-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,975.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เกษตรกร เป็นอาชีพหนึ่งที่ทำงานเกี่ยวกับการเกษตร เป็นการเพาะปลูกพืชต่างๆ ในสวนและไร่นา รวมทั้งการเลี้ยงสัตว์และการประมง เพื่อผลิตเป็นอาหาร เส้นใยธรรมชาติ และเชื้อเพลิงต่าง ๆ อันเกิดมาจากการเกษตรกรรม ในปัจจุบันพบว่าแรงงานร้อยละ 42 ของโลกประกอบอาชีพเกษตรกร กระบวนการเกษตรกรรมนั้น มีลักษณะของการทำงานที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพหลายปัจจัย ซึ่งความเสี่ยงอันตรายด้านโรคจากการประกอบอาชีพภาคเกษตรกรรม เช่น ความเสี่ยงอันตรายจากปัจจัยทางเคมี ความเสี่ยงอันตรายจากปัจจัยทางชีวภาพ ความเสี่ยงอันตรายจากปัจจัยทางกายภาพและความเสี่ยงอันตรายจากปัจจัยทางจิตวิทยาสังคม ตำบลยาบี มีลักษณะพื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม มีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึง ร้อยละ ๘๐ ของพื้นที่ทั้งหมดเหมาะสำหรับการประกอบอาชีพเกษตรกรรมประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทำนาเป็นอาชีพหลัก รองลงมาคือทำสวนยางพารา สวนปาล์ม สวนผลไม้ เป็นต้น ซึ่งอาชีพเหล่านี้ล้วนแล้วมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ ทั้งด้านร่างกาย การบาดเจ็บกล้ามเนื้อและข้ออาการอ่อนเพลียจากความร้อนและความเสี่ยงต่อการถูกสัตว์มีพิษกัดและอาจส่งผลต่อระบบไหลเวียนเลือดจากการใช้ยากำจัดศัตรูพืชหากไม่ได้มีการป้องกันอย่างถูกวิธี จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนังระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่า ร่างกายจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเพียงไหน โดยส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการต่าง ๆ ขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น กลุ่ม อสม.ตำบลยาบี ได้เห็นถึงความสำคัญเกี่ยวกับการป้องกันอันตรายจากการประกอบอาชีพในกลุ่มเกษตรกร เพื่อให้เกิดความปลอดภัย ตลอดจนทำให้เกษตรกรตำบลยาบีมีสุขภาพที่ดีประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจัดโครงการเกษตรกรยาบี ใส่ใจดูแลสุขภาพ ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมี
  2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดตั้งอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.)
  2. กิจกรรมสำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมตำบลยาบี
  3. กิจกรรมคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเจาะเลือดหาสารเคมีในเลือด
  4. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรอง,การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ
  5. กิจกรรมติดตามกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มที่ตรวจพบสารตกค้างในเลือด
  6. กิจกรรมถอดบทเรียนและเวทีคืนข้อมูลให้กับกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกษตรกรมีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 80

  2. เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้นร้อยละ 30


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมถอดบทเรียนและเวทีคืนข้อมูลให้กับกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 25 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ถอดบทเรียนจากกิจกรรมตามโครงการและคืนข้อมูลให้กับกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพ รวมทั้งวิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงเหล่านั้น  อีกทั้งมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการลดความเสี่ยงตามบริบทของอาชีพในกลุ่มเป้าหมายแต่ละคน

 

43 0

2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดตั้งอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.)

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดตั้งอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 1.1กลุ่มอสม. จำนวน 38 คน 1.2 วิทยากร จำนวน 2 คน รวมจำนวน 40 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกษตรกรมีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
2.เกษตรกรเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเเละมีความปลอดภัยในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้นร้อยละ 30

 

40 0

3. กิจกรรมสำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมตำบลยาบี

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมสำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมตำบลยาบี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกษตรกรมีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 2.เกษตรกรเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเเละมีความปลอดภัยในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้นร้อยละ 30

 

6 0

4. กิจกรรมคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเจาะเลือดหาสารเคมีในเลือด

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเจาะเลือดหาสารเคมีในเลือด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกษตรกรมีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 2.เกษตรกรเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเเละมีความปลอดภัยในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้นร้อยละ 30

 

38 0

5. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรอง,การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรอง,การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 1.อสอช.จำนวน6คน 2.เกษตรกร จำนวน 30 คน 3.วิทยากร จำนวน 2 คน รวมจำนวน 38 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพ และวิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ

 

38 0

6. กิจกรรมติดตามกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มที่ตรวจพบสารตกค้างในเลือด

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

เป็นกิจกรรมติดตามกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มที่ตรวจพบสารตกค้างในเลือด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกษตรกรมีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 2.เกษตรกรเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเเละมีความปลอดภัยในการประดอบอาชีพเพิ่มขึ้นร้อยละ70

 

6 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การจัดกิจกรรมโครงการเกษตรกรใส่ใจดูแลสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค โดยมีกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดตั้งอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) , สำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมตำบลยาบี ,คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเจาะเลือดหาสารเคมีในเลือด , อบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรอง,การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ , ติดตามกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มที่ตรวจพบสารตกค้างในเลือด และกิจกรรมถอดบทเรียนและเวทีคืนข้อมูลให้กับกลุ่มเป้าหมาย โดยมีกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 30 คน โดยได้รับการสนับสนุนวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี มาบรรยายให้ความรู้ในเรื่อง การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดตั้งอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมี
ตัวชี้วัด : เกษตรกรมีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
80.00

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัด : เกษตรกรเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีความปลอดภัยในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้นร้อยละ 30
30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมี (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดตั้งอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) (2) กิจกรรมสำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมตำบลยาบี (3) กิจกรรมคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเจาะเลือดหาสารเคมีในเลือด (4) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรอง,การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ (5) กิจกรรมติดตามกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มที่ตรวจพบสารตกค้างในเลือด (6) กิจกรรมถอดบทเรียนและเวทีคืนข้อมูลให้กับกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรกรใส่ใจดูแลสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค

รหัสโครงการ 63-L3070-2-2 รหัสสัญญา 5/63 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

เกษตรกรมีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพิ่มขึ้น เเละมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเเละลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพเพิ่มมากขึ้น

ใบลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม

ส่งเสริมให้มีการอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรอง,การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมตำบลยาบีอย่างต่อเนื่องทุกๆปี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

ประชุมชี้เเจง อสม.เพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินโครงการ เเละมีการประสานขอข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนผู้มีอาชีพเกษตรกร

เวทีในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดชมรมอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.)

ชมรมในหมู่บ้านตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

มีศูนย์สำหรับให้ความรู้ให้กับเกษตรกรเกี่ยวกับการใช้สารเคมี

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

มีการลดใช้สารเคมีในการทำเกษตรเเละการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงในเเต่ละครัวเรือน

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ชุมชนได้ทราบประโยชน์ของพืชผักที่ตนเองบริโภคทุกวัน

ชุมชนปลูกพืชผักสวนครัวกินเอง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

ชุมชนเริ่มหันมาสนใจสุขภาพมากขึ้นหันมาออกกำลังกายมากขึ้น

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

ชุมชนเริ่มหันมาสนใจสุขภาพกันมากขึ้นด้วยการลดการสูบบุหรี่มากขึ้น

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

มีกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสร้างความผ่อนคลายให้กับกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนค่านิยมการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เเทนการใช้สารเคมี

ครัวเรือนในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

ส่งเสริมให้ชุมชนมีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพในการทำเกษตรกรรม

จากครอบครัวในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

เกษตรกรที่มาร่วมในโครงการมีความสนใจในเรื่องเกษตรกรรมในพื้นที่ร่วมกับกลุ่ม อสม.ในการทำกิจกรรม เกิดชุมชนที่อบอุ่น

กิจกรรมที่มีในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

กิจกรรมเจาะเลือดหาสารตกค้างในเลือดสำหรับกลุ่มเสี่ยงเเละการติดตามกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มที่ตรวจพบสารตกค้างในเลือด

กลุ่มเป้าหมายในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการทำงานเชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่นภายในชุมชน

กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

มีการวานเเผนประสานขอข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนผู้มีอาชีพเกษตรกร เเละกิจกรรมถอดบทเรียนเเละเวทีคืนข้อมูลให้กับกลุ่มเป้าหมาย

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

มีการให้วิทยากรในพื้นที่มาสอนในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการรณรงค์ให้ชุมชนเปลี่ยนค่านิยมจากการใช้สารเคมีเปลี่ยนมาใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพเเทน

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

มีกิจกรรมถอดบทเรียนเเละเวทีคืนข้อมูลให้กับกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรม

ในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

คณะทำงานมีการทำงานเเบบมีระเบียบมากขึ้นมีการ เตรียมงานก่อนปฏิบัติงานจริง

การทำงานในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

กลุ่มเป้าหมายในกลุ่มกล้าเเสดงออก ตัดสินใจด้วยตนเอง มีความรู้ในการปฏิบัติตัวมากขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพ

เกิดเเกนนำใหม่ในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

กลุ่มเป้าหมายมีจิตอาสามากขึ้น

มีคนร่วมในงานสาธารณะในชุมชนมากขึ้น

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

มีการปลูกผักกินเองภายในครัวเรือน

ทุกครัวเรือนในชุมชนตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

เป็นวิถีชีวิตในชุมชนดั้งเดิม

วิถีชีวิตในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเกษตรกรใส่ใจดูแลสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3070-2-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจันทิยา พัทบุรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด