กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส. กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2563 ”

ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสปีเนาะ กะโด

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส. กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2563

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 10/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มีนาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส. กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2563 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส. กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส. กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มีนาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้สภาพปัญหาทางสุขภาพเปลี่ยนไปด้วย ปัจจุบันแนวโน้มปัญหาสุขภาพที่เพิ่มสูงขึ้นจากสาเหตุโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานโรคหัวใจและหลอดเลือดโรคเหล่านี้เป็นปัญหาที่สำคัญระดับประเทศและระดับโลกซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นสถานการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง องค์การอนามัยโลก (WHO) รายงานว่า ในปี 2552 ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีจำนวน 108 ล้านคน เพิ่มขึ้นเป็น 422 ล้านคน ในปี 2557 มีผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวาน 1.5 ล้านคน นอกจากนี้ ยังพบว่าประชากรทั่วโลกที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ป่วยด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.7 เป็นร้อยละ 8.5 หรือเมื่อเปรียบเทียบแล้ว พบว่า ปัจจุบันประชากรวัยผู้ใหญ่ 1 ใน 11 คนป่วยเป็นโรคเบาหวาน ส่วนในประเทศไทย จากรายงานของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่า อัตราตายด้วยโรคเบาหวานต่อประชากรแสนคน ในภาพรวมของประเทศในปี 2556 - 2561 เท่ากับ 14.93, 17.53 และ 17.83 ตามลำดับ เห็นได้ว่า อัตราการตายด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นทุกปี และจากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกายในประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ครั้งที่ 3, 4 และ 5 (ปี 2547, 2552 และ 2557) พบว่า ความชุกของโรคเบาหวาน ของครั้งที่ 3 ร้อยละ 7 ใกล้เคียงกับครั้งที่ 4 ร้อยละ 6.9 ส่วนครั้งที่ 5 เพิ่มสูงขึ้นเป็นร้อยละ 8.8 (คิดเป็น 4.8 ล้านคน)นอกจากนี้ ข้อมูลจากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปี 2558 ยังพบว่าประเทศไทย  มีค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอกในการรักษาพยาบาลโรคเบาหวานเฉลี่ย 1,172 บาทต่อราย ส่วนผู้ป่วยในค่าใช้จ่าย ในการรักษาพยาบาลเฉลี่ย 10,217 บาทต่อราย รวมค่ารักษาพยาบาลทั้งสิ้น 3,984 ล้านบาทต่อปี หากคนไทยป่วยด้วยโรคเบาหวาน รวม 3 ล้านคนต่อปี มารับบริการที่สถานพยาบาล จะต้องเสียค่ารักษาพยาบาลทั้งสิ้นประมาณ 47,596 ล้านบาทต่อปี จากสถิติการเจ็บป่วยของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา พบว่า อัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวาน ซึ่งเป็นกลุ่ม โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มักพบผู้ป่วยมากที่สุดในอันดับต้นของกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น โดยในปี 2560-2563 มีอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานร้อยละ 80.65 , 78.23 , 81.32 , และ 82.67 ต่อประชากร  1,000 คน ตามลำดับนอกจากนี้ จากการคัดกรองในชุมชนปี 2563 จำนวน 5,220 คน พบว่า กลุ่มเสี่ยงก่อนเกิดโรคเบาหวานจำนวน 175 คน คิดเป็นร้อยละ 3.35 ดังนั้นการเสริมสร้างสุขภาพที่ดีและสร้างโอกาสสำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมให้กับประชาชนทุกกลุ่ม จะช่วยทำให้กลุ่มป่วยสามารถดูแลตนเองได้เป็นอย่างดี กลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยงมีความตระหนักและใช้ประสบการณ์ของผู้ป่วยคนอื่นๆในชุมชน เป็นตัวอย่างและปรับใช้ในการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม ไม่ก่อให้เกิดโรคก่อนวัยอันควร ทั้งนี้การสร้างโอกาสดังกล่าวจึงจำเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน การใช้แนวทางที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นในชุมชนด้วยตนเอง ซึ่งอาจต้องรณรงค์ให้ประชาชนปฏิบัติตัวให้ถูกต้อง โดยใช้หลัก 3อ 2ส เช่น ลดอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม รับประทานผักผลไม้มากขึ้น ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หมั่นทำจิตใจให้สงบ ลด ละ เลิกบุหรี่และสุรา รวมถึงการเปิดโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ทั้งผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มปกติอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค 3อ 2ส    จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค 3อ 2ส กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2563

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยงป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  2. 2.เพื่อส่งเสริม ป้องกันควบคุมโรคสำหรับประชาชนกลุ่มเป้าหมายตามมาตรฐานงานโรคเรื้อรัง 6 องค์ประกอบ
  3. 3.เพื่อติดตามประเมินผลประชากรกลุ่มเป้าหมายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส
  2. กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้รับการเฝ้าระวัง ติดตามการเกิดโรคเบาหวาน
  3. กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ ได้รับการส่งต่อ และรักษาอย่างถูกวิธี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้

วันที่ 26 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการจัดทำโครงกา พบว่ากลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงป่วยโรคเบาหวาน 118 คน กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคความดันโลหิตสูง 144 คน รวมทั้งหมด 262 คน ทั้งนี้ได้ดำเนินกิจกรรมจำนวน 50 คน และได้ติดตามอาการจำนวน 212 คนจากที่ได้ดำเนินกิจกรรมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ3อ.2ส. กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2563 พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่จากลุ่มเสี่ยง จำนวน 32 ราย คิดเป็นร้อยละ 27.11 ผ้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงป่วย จำนวน 87 ราย คิดเป็นร้อนละ 60.41 ทั้งนี้ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เกิดในกลุ่มที่ติดตามอาการ ไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรม และอาศัยอยู่พื้นที่อื่นที่ไม่สามารถติดตามอาการ ไม่ได้เข้าร่วมโครงการและอาศัยอยู่พื้นที่อื่นที่ไม่สามารถติดตามได้ ดังนั้นทางรพ.สต.จึงจำป็นจะต้องดำเนินการติดตาม ค้นหากลุ่มเสี่ยงป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มเป้าหมายให้มารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ติดตามอาการ เพื่อการป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชาชนกลุ่มวัยทำงานดังกล่าวต่อไปในอนาคต

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยงป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริม ป้องกันควบคุมโรคสำหรับประชาชนกลุ่มเป้าหมายตามมาตรฐานงานโรคเรื้อรัง 6 องค์ประกอบ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อติดตามประเมินผลประชากรกลุ่มเป้าหมายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยงป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2) 2.เพื่อส่งเสริม ป้องกันควบคุมโรคสำหรับประชาชนกลุ่มเป้าหมายตามมาตรฐานงานโรคเรื้อรัง 6 องค์ประกอบ (3) 3.เพื่อติดตามประเมินผลประชากรกลุ่มเป้าหมายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส. กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2563 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสปีเนาะ กะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด